Page 43 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 43

22


               แตงตั้งกรรมการที่ทําหนาที่ในประเด็นการเลือกปฎิบัติดวยเหตุแหงความพิการ (Disability Discrimination
                                           40
               Commissioner) เปนการเฉพาะ  ในป 2553 – 2554 พบวา มีผูรองทุกขตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               แหงเครือรัฐออสเตรเลียจากการถูกเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากการเปนผูติดเชื้อเอชไอวีจํานวน 11  เรื่อง
               คิดเปนรอยละ 1 ของคํารองทุกขภายใตกฎหมายฉบับนี้ นอกจากนี้พบวา มีผูรองทุกขจากการถูกเลือกปฏิบัติ
               ดวยเหตุแหงความพิการในการจางงาน จํานวน 672 เรื่อง คิดเปนรอยละ 31 ของคํารองทุกขในประเด็นตางๆ
               ซึ่งถือวาการเลือกปฏิบัติในการจางงานเปนประเด็นที่สําคัญรองลงมาจากการเลือกปฏิบัติจากการไดรับบริการ

               และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ โดยทั่วไป กระบวนการวินิจฉัยคํารองทุกขจะใชเวลาไมเกิน 12 เดือน จาก
               สถิติคํารองทุกขที่ไดรับการวินิจฉัยทั้งหมด 961 เรื่อง มีคํารองทุกขเพียง 14 เรื่องที่ใชระยะเวลาในการวินิจฉัย
                           41
               เกิน 12 เดือน
                       ในป 2555 เปนตนมา รัฐบาลแหงเครือรัฐออสเตรเลียไดมีการพิจารณาแกไขกรอบกฎหมายวาดวย

               การขจัดการเลือกปฏิบัติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมกฎหมายที่เกี่ยวของกับการขจัดการเลือกปฏิบัติดวย
               เหตุแหงความแตกตาง ไดแก อายุ เพศ ความพิการ และเชื้อชาติ ใหอยูภายใตพระราชบัญญัติเดียวกัน เพื่อลด
               ความซับซอนและความไมสอดคลองของกฎหมายแตละฉบับ เพื่อใหสาธารณะมีความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิและ
               หนาที่ของตนภายใตกฎหมายดังกลาวไดดียิ่งขึ้น และเพื่อสรางกลไกการคุมครอง/รองทุกขที่มีประสิทธิภาพ
                                                         42
               และขยายความคุมครองเพิ่มขึ้นในกรณีที่เหมาะสม  สําหรับการคุมครองผูติดเชื้อเอชไอวีจากการเลือกปฏิบัติ
               นั้น พบวา DDA ยังคงมีปญหาในการบังคับใชโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นการพิจารณาการเลือกปฏิบัติทั้ง
               ทางตรงและทางออม (test for discrimination) ซึ่งกลุมภาคประชาสังคมไดมีการเสนอใหมีการพิจารณา

               นําเอาวิธีการพิจารณาการเลือกปฏิบัติที่เปนรูปแบบเดียวมาใชกับการเลือกปฏิบัติทั้งสองประเภทเพื่อทําให
               กระบวนการตรวจสอบงายยิ่งขึ้น โปรงใส และยืดหยุน ซึ่งจะทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีซึ่งเปนผูรองที่ไมมีทนายหรือ
               ที่ปรึกษาทางกฎหมายใหความชวยเหลือในคดี (unrepresented  litigant)  สามารถเขาถึงความยุติธรรม
               นอกจากเสนอใหมีนําเอาประเด็นเรื่องการลวงละเมิดเปนสวนหนึ่งของความหมายของการเลือกปฏิบัติ และให
               มีการบัญญัติหนาที่เชิงบวก (positive duty) ของหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมตลอดถึง นายจาง ผูใหบริการใน

               การสงเสริมการขจัดการเลือกปฏิบัติ นอกจากนี้ ประเด็นภาระการพิสูจน มีขอเสนอควรใหฝายผูถูกกลาวหา
               เปนผูมีภาระในการนําสืบพิสูจน เนื่องจากพบวา ในกรณีการเลือกปฏิบัติจากการจางงาน เนื่องจาก
               ความสัมพันธเชิงอํานาจที่ไมเทาเทียมระหวาง ผูรองซึ่งเปนลูกจาง และผูถูกกลาวหาซึ่งเปนนายจาง ทําใหผูรอง

               มีความยากลําบากอยางมากในการอางหรือนําหลักฐานเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติซึ่งโดยปกติอยูในความ
               ครอบครองหรือควบคุมของผูถูกกลาวหามานําสืบใหปรากฎได ดังนั้นหนาที่ในการนําสืบควรตกอยูที่ผูถูก
                                                                 43
               กลาวหาซึ่งเปนไปตามแนวทางภายใต Fair Work Act 2009
                       ในสวนของกลไกการคุมครอง พบวา พระราชบัญญัติ DDA ไมไดมีบทบัญญัติใหอํานาจตัวแทนหรือ

               หนวยงานเพื่อดําเนินการสืบสวนตรวจสอบแทนผูเสียหายจากการเลือกปฏิบัติ เพื่อบังคับใหผูกระทําผิดปฎิบัติ



               40
                 Sections 113 - 120
               41 http://humanrights.gov.au/about/publications/annual_reports/2010_2011/complaint-statistics.html
               42
                 Attorney – General’s Department,  Consolidation of Commonwealth Anti–Discrimination Laws -
               Discussion Paper, September 2011, visited
               http://www.ag.gov.au/Consultations/Documents/ConsolidationofCommonwealthanti-
               discriminationlaws/Consolidation%20of%20Commonwealth%20Anti-Discrimination%20Laws.pdf
               43  HIV/AIDS Legal Centre, Consolidation of Commonwealth Anti-Discrimination Laws, February 2012,
               visited http://halc.org.au/wp-content/uploads/2013/04/Consolidation-of-Discrimination-legislation.pdf
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48