Page 39 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 39

18


                       -  การสงเสริมการคุมครองสิทธิแรงงาน รวมถึงหลักการไมเลือกปฏิบัติ การคุมครองการจางงานและ
                          การทํางาน ความเสมอภาคทางเพศ และสิทธิในการไดรับสิทธิประโยชนในฐานะแรงงาน

                       -  การปองกันโดยการใหความรู และการสรางความตระหนักรู  การสนับสนุนอยางเปนรูปธรรมเพื่อ
                          นําไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
                       -  การดูแลและการสนับสนุน รวมถึงการมีสิทธิการเอื้ออํานวยตามสมควรในการทํางานและการ

                          ประกอบอาชีพ การบริการดานสุขภาพในราคาที่เหมาะสม การดูแลรักษา และสิทธิประกันสังคม
                                     31
                          ตามกฎหมาย


                       นอกจากแนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางานซึ่งไดรับการตอบรับและนําไปปฏิบัติในหลาย
               ประเทศ เพื่อเปนการตอกย้ําเจตจํานงในการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดสในโลกแหงการทํางาน ในป 2550
               สมาชิกไตรภาคีขององคการแรงงานระหวางประเทศ ไดรวมกันพิจารณาผลักดันใหมีการจัดทําและรับรอง
               มาตรฐานแรงงานระหวางประเทศขึ้นมาอีกชุดหนึ่งเพื่อยกระดับการตอบสนองตอสถานการณเอชไอวี/เอดส
               และไดมีมติรับรองขอแนะวาดวยเอชไอวีและเอดสในโลกแหงการทํางาน ฉบับที่ 200 ในป พ.ศ. 2553

                       ขอแนะดังกลาวถือเปนตราสารองคการแรงงานระหวางประเทศที่ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย หากแต
               เปนการใหขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติตอสมาชิกประเทศขององคการแรงงานระหวางประเทศ เนื้อหาสําคัญ
               ในขอแนะนี้ไดมุงเนนไปที่มาตรการปองกันในสถานประกอบการและการเอื้ออํานวยใหผูติดเชื้อไดเขาถึงการ

               ดูแลรักษา โดยใหความสําคัญกับหลักการสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน หลักความเสมอภาคทางเพศ และการไม
               เลือกปฎิบัติ รวมตลอดถึงการรักษาความลับและการเคารพสิทธิสวนบุคคล ซึ่งสมาชิกประเทศมีบทบาทอยาง
               สําคัญในการนําเอาหลักการดังกลาวไปปฏิบัติ และกําหนดเปนนโยบายและกฎหมายในประเทศตามสมควร
                    32
               ตอไป

               2.2 มาตรการและแนวปฏิบัติที่ดีดานการคุมครองสิทธิของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี:  ศึกษาเปรียบเทียบ
               กฎหมายและนโยบายของเครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐฟลิปปนส และประเทศสหราชอาณาจักร
                       ในฐานะปญหาสังคมระดับโลก การเคลื่อนไหวในประเด็นเกี่ยวกับโลกเอดสในระดับสากล นํามาซึ่ง

               การพัฒนา ปรับปรุง และกําหนดแนวนโยบายและกฎหมายของประเทศตางๆ ทั่วโลก จากรายงานของ
               Global Commission on HIV and the Law พ.ศ. 2555 พบวา มี 123 ประเทศไดมีกฎหมายเกี่ยวกับการ
               ขจัดการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีและในจํานวนดังกลาวมี 112 ประเทศใหความคุมครองกลุมผูติดเชื้อ
               เอชไอวีที่เปนกลุมที่มีความเปราะบางประเภทหนึ่ง อยางไรก็ดี แมจะมีบทบัญญัติแหงกฎหมายในการคุมครอง

               ผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี แตพบวากฎหมายดังกลาวยังไมมีการบังคับใชอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งทําใหกลุม
                                                         33
               ผูติดเชื้อเอชไอวีถูกละเลยในการไดรับการคุมครอง  อาจกลาวไดวา กฎหมายและนโยบายที่ใหความสําคัญ
               และใหความเคารพสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีมีความสําคัญอยางยิ่งในการแกไขปญหาโรคเอดสอยาง

               รอบดาน เชนเดียวกับ กลุมบุคคลอื่นๆ ผูติดเชื้อเอชไอวีควรไดประโยชนจากการคุมครองสิทธิขั้นพื้นฐานทั่วไป
               ยิ่งไปกวานั้น เนื่องจากความตองการ และปญหาที่เผชิญมีความแตกตางจากกลุมบุคคลอื่นๆ การคุมครองสิทธิ


               31
                 Lisk, F, A Rights-based approach in addressing HIV/AIDS in the workplace: the Role and contribution of
               the ILO and its constituent, 2007, (1) Law social justice and global development (LGD).
               <http://www.go.warwick.ac.uk/elj/lgd/2007_1/lisk>
               32 Recommendation concerning HIV and AIDS and the World of Work, 2010 (No.200), 17 June 2010
               33 Global Commission on HIV and the Law, Risk, Rights and Health , (UNDP,HIV/AIDS Group), 2012
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44