Page 47 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 47

26


                       3.  หลักการรักษาความลับ (Confidentiality) ในโลกแหงการทํางาน กฎหมายกําหนดให นายจาง
               ลูกจางและบริษัทจัดหางานมีหนาที่ในการรักษาความลับโดยเฉพาะอยางยิ่งอัตลักษณและสถานภาพของบุคคล
                                 50
               ที่เปนผูติดเชื้อเอชไอวี
                       นอกจากนี้ กฎหมายมุงสงเสริมการแกไขปญหาโรคเอดสอยางรอบดานและไดมีบทบัญญัติเปนการ
               เฉพาะเกี่ยวกับมาตรการปองกันและการใหความรูเกี่ยวกับโรคเอดสซึ่งรวมถึงการใหความรูในสถาน
               ประกอบการดวยโดยนายจางมีหนาที่สรางความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส โดยรวมมือกับหนวยงานภาครัฐ

               นายจางมีหนาที่ใหขอมูลเกี่ยวกับโรคเอดสที่เปนมาตรฐานกับภาครัฐและลูกจางทุกคน โดยจะตองจัดทําขอมูล
               ดังกลาวในฐานะเปนสวนหนึ่งของการปฐมนิเทศพนักงาน การฝกอบรม และแผนงานของฝายพัฒนาทรัพยากร
               มนุษย  ทั้งนี้การดําเนินกิจกรรมการใหขอมูลความรูดังกลาวกระทรวงแรงงานและการจางงานเปนหนวยงาน
                                                                        51
               รับผิดชอบในการตรวจสอบกิจกรรมการรณรงคในภาคเอกชนทั้งหมด
                       กฎหมายบัญญัติใหมีการตั้งหนวยงานกลางในการกําหนดนโนบายและวางแผนงานในการปองกันและ
               ควบคุมการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี คือ สภาเอดสแหงชาติ (The Philippine National AIDS Council)
                         52
               หรือ PNAC


                       แนวนโยบายและแนวปฏิบัติที่ดีในการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดส
                       รัฐบาลสาธารณรัฐฟลิปปนสมีความมุงมั่นในการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรดเอดสผานกรอบกฎหมายและ
               นโยบายดานตางๆ ในการนี้ PNAC ในฐานะหนวยงานรับผิดชอบหลักจะทําหนาที่กําหนดนโยบายและทิศทาง

               ในการดําเนินงานแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดส และเปนหนวยงานกลางที่ทําหนาที่ประสานงานระหวาง
               หนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในการจัดทําแผนยุทธศาสตรแหงชาติดานโรคเอดส อีกทั้งยังเปนหนวยงานในการ
               ติดตามประเมินผลและจัดทําขอเสนอแนะตอการดําเนินมาตรการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของเชื้อ
               เอชไอวี
                       ในการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดส รัฐบาลไดดําเนินการภายใตยุทธศาสตรแหงชาติดานเอดสระยะ

               กลาง(The AIDS Medium – Term Plan) ซึ่งวางแนวทางในการตัดสินใจใจระดับนโยบาย และการจัดลําดับ
               ความสําคัญของแผนงาน รวมตลอดถึง การจัดสรรทรัพยากรในการดําเนินกิจกรรมของ หนวยงานที่เกี่ยวของ
               อาทิ รัฐบาล กลุมนายจาง กลุมลูกจาง และองคกรภาคประชาสังคมเปนตน ปจจุบันมีการดําเนินกิจกรรมตาม

               ยุทธศาสตรแหงชาติดานเอดสระยะกลางฉบับที่ 5 มีระยะเวลาในการดําเนินการตั้งแตป 2554 – 2559 โดย
               ยุทธศาสตรฉบับดังกลาวมุงเนนใหความสําคัญตอการมุงสูเปาหมายที่เปนศูนย (Getting  to  zero)  โดยมี
               จุดมุงหมายเพื่อลดจํานวนผูติดเชื้อเอชไอวีรายใหม ลดการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีและลดจํานวนการ
               ตายของผูติดเชื้อเอชไอวี หรือการตายที่เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี ผานมาตรการการปองกัน การดูแลรักษา

               และการปรับปรุงการดําเนินนโยบาย การบริหารจัดการและการประสานงานใหมีประสิทธิภาพ และการพัฒนา
               ศักยภาพของผูมีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวน รวมตลอดถึงกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีในการนํายุทธศาสตรแหงชาติ
                              53
               ดังกลาวไปปฏิบัติ




               50
                 Section 30
               51
                 Section6
               52
                 Sections 43-48
               53 Global AIDS Progress Report, Country Progress Report: The Philippines 2010 -2011, (Geneva: UNAIDS), หนา
               18 -20 และดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน http://www.ilo.org/aids/legislation/WCMS_172919/lang--en/index.htm
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52