Page 38 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 38

17


               การแกไขปญหาโรคเอดสเปนสําคัญ และในปเดียวกันนี้เอง หลักการภายใตแนวปฏิบัติฯ ไดรับการสนับสนุน
               จากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษวาดวยเรื่องโรคเอดส

                       แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางานไดนํานิยามของการเลือกปฏิบัติที่ปรากฎอยูใน
               อนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศฉบับที่ 111 วาดวยการเลือกปฏิบัติในการจางงานและการทํางาน
               พ.ศ.2501  (1958)  กลาวคือ การเลือกปฏิบัติ หมายถึง การแบงแยก การกีดกัน หรือการลําเอียงใดๆที่
               กระทําบนพื้นฐานของเชื้อชาติ สีผิว เพศ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง การแบงแยกในชาติ พื้นฐาน

               ทางสังคมซึ่งมีผลลบลางหรือทําความเสียหายตอความเสมอภาคในโอกาสหรือในการปฏิบัติเกี่ยวกับการ
               จางงานและการประกอบอาชีพ อยางไรก็ดี หากการกระทําหรือละเวนการกระทําดังกลาวขางตนในงาน
                                                                                              29
               บางประเภทเกิดขึ้นเพราะความตองการอยางแทจริงของงาน ไมถือเปนการเลือกปฏิบัติ  นอกจากนี้
               แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางาน ไดนําหลักการที่สําคัญที่ปรากฏในอนุสัญญาวาดวยสิทธิผูพิการ
                                                                                          30
               พ.ศ. 2549 (2006) วาดวยการเอื้ออํานวยตามสมควร (reasonable accommodation) มาใชในกรณีของ
               แรงงานผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี  โดยใหมีความหมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานตามความ
               เหมาะสมเพื่อใหแรงงานที่ติดเชื้อเอชไอวีมีโอกาสในการทํางานหรือมีความกาวหนาในการทํางานตอไปได
                       แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางานมีหลักการสําคัญดังตอไปนี้

                       1.  การยอมรับวาเรื่องโรคเอดสเปนเรื่องของสถานประกอบการซึ่งมีบทบาทที่สําคัญในการปองกัน
                          การแพรระบาดและผลกระทบจากเชื้อเอชไอวี
                       2.  การไมเลือกปฏิบัติกลาวคือ จะตองไมมีการเลือกปฏิบัติตอแรงงานบนพื้นฐานของการมีสถานภาพ

                          เปนผูติดเชื้อเอชไอวี หรือผูอยูในสภาวะที่เสี่ยงตอการติดเชื้อ
                       3.  ความเสมอภาคของบทบาทหญิงและชาย
                       4.  สภาพแวดลอมการทํางานที่ดีตอสุขภาพ ใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงอนุสัญญาองคการแรงงาน
                          ระหวางประทศ ฉบับที่ 155 วาดวยความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน
                       5.  การปรึกษาหารือทางสังคม

                       6.  หามไมใหมีการตรวจคัดกรองเพื่อหาเชื้อเอชไอวีเพื่อใหออกจากงานหรือระบบการทํางาน ซึ่ง
                          ใหหมายรวมถึงกรณีผูสมัครงานดวย
                       7.  การรักษาความลับและการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลเกี่ยวกับโรคเอดส ใหเปนไปตามแนวปฏิบัติ

                          ขององคการแรงงานระหวางประเทศวาดวยการรักษาความลับสวนบุคคลของลูกจาง พ.ศ. 2540
                       8.  การจางงานอยางตอเนื่องและการเปลี่ยนงานอยางเหมาะสมใหกับแรงงานที่เปนผูติดเชื้อเอชไอวี
                       9.  การปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี บนพื้นฐานของการไมเลือกปฏิบัติ
                       10. การดูแลและการชวยเหลือ

                       แมวาแนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางานเปนเอกสารระหวางประเทศที่ไมมีผลผูกพันทาง
               กฎหมายและขึ้นอยูกับความสมัครใจ แตเอกสารดังกลาวไดใหความสําคัญกับแนวปฏิบัติที่ดีที่ตั้งอยูบนหลักการ
               พื้นฐานแหงสิทธิ (Rights – based approach) ที่สามารถนําไปฏิบัติไดทั้งในระดับผูกําหนดนโยบาย สถาน
               ประกอบการ และชุมชน โดยใหความสําคัญกับมาตรการและแผนงานในดานตางๆดังนี้



               29
                 Art. 1(1) (a) –(b) and (2)  of the ILO C.111
               30
                 Art. 2ไดใหคํานิยาม การเอื้ออํานวยตามสมควร หมายถึง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงที่จําเปนและเหมาะสมโดย
               ไมกอใหเกิดภาระอันเกินควรหรือเกินสัดสวน เฉพาะในกรณีที่จําเปน เพื่อประกันวาคนพิการไดอุปโภคและใชสิทธิมนุษยชน

               และเสรีภาพขั้นพื้นฐานทั้งปวงที่เทาเทียมกับบุคคลอื่น
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43