Page 41 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 41
20
2. ประเทศที่มีการบัญญัติกฎหมายวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีเปนการเฉพาะ
ไดแก ประเทศสาธารณรัฐฟลิปปนส
3. ประเทศที่มีการบัญญัติกฎหมายวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี ในมุมมองของ
กฎหมายวาดวยความเสมอภาคไดแก ประเทศสหราชอาณาจักร
2.2.1 เครือรัฐออสเตรเลีย
เครือรัฐออสเตรเลียไดรับการยอมรับจากนานาประเทศในฐานะประเทศที่มีกฎหมายและนโยบายใน
การแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดสที่กาวหนามากที่สุดอีกแหงหนึ่ง และเปนประเทศตนแบบที่สําคัญในการ
พัฒนากฎหมายเกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติใหกับประเทศตางๆ อาทิ สหรัฐอเมริกา ฮองกง และ
34
นิวซีแลนด จากการศึกษาทบทวนกรอบกฎหมายของประเทศเครือรัฐออสเตรเลีย พบวา การเลือกปฏิบัติตอ
ผูติดเชื้อเอชไอวีถือเปนการละเมิดกฎหมายทั้งในระดับประเทศและระดับมลรัฐ สําหรับกรอบกฎหมาย
ระดับประเทศของเครือรัฐออสเตรเลียที่เกี่ยวของกับการขจัดการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี มีดังตอไปนี้
- Commonwealth of Australia Constitution Act of 9 July 1900
- Human Rights and Equal Opportunity Commission Act 1986
- Privacy Act 1988
35
- Disability Discrimination Act 1992 (amendment up to Act. No. 169 of 2012)
- Fair Work Act 2009
พระราชบัญญัติ Disability Discrimination Act 1992 (DDA) ถือเปนกฎหมายหลักที่สําคัญที่ให
ความคุมครองผูติดเชื้อเอชไอวีจากการถูกเลือกปฏิบัติสําหรับขอบเขตการบังคับใชกฎหมาย แมวากฎหมาย
ฉบับนี้ไมไดกลาวถึง การเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีโดยเฉพาะ แตเมื่อพิจารณาจากคําจํากัดความของ
ความพิการและเจตนารมณของกฎหมายจะเห็นไดวา ความพิการใหตีความครอบคลุมถึงสภาวะสุขภาพอีก
ทั้งยังไมไดกําหนดเงื่อนเวลาของความพิการ หรือสภาวะสุขภาพ กลาวคือกฎหมายจะใหความคุมครอง
ครอบไปถึงสภาวะสุขภาพทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต นอกจากนี้ กฎหมายฉบับนี้ยังขยายความคุมครอง
ผูที่เกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวี อาทิ สมาชิกในครอบครัวของผูติดเชื้อเอชไอวี หรือผูที่นาจะหรือเชื่อวาเปนผู
36
อาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี เปนตน กฎหมายไดกําหนดขอบเขตการหามมิใหมีการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อ
เอชไอวี ในกรณีการจางงาน การศึกษา การเขาไปยังสถานที่ตางๆ การจัดใหบริการและเครื่องอํานวยความ
37
สะดวก การจัดที่พักอาศัย และอื่นๆ
ในประเด็นการเลือกปฏิบัติ กฎหมายฉบับนี้ไดบัญญัติครอบคลุมหามมิใหมีการเลือกปฏิบัติทั้ง การ
เลือกปฏิบัติโดยตรง กลาวคือ หามเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความแตกตางระหวางบุคคล เชน หามไมใหมีการ
ปฏิบัติตอผูติดเชื้อ หรือเชื่อวาเปนผูติดเชื้อแตกตางไปจากบุคคลทั่วไปในสถานการณเดียวกัน อาทิ หากไมมี
กฎหมายบัญญัติเปนการเฉพาะ หามมิใหนายจางปฏิเสธการจางงานบุคคล เนื่องจากสภาวะสุขภาพ ดวยเหตุ
แหงความแตกตาง ในขณะเดียวกัน การเลือกปฏิบัติโดยออม หมายถึง การกําหนดเงื่อนไขที่เกินความจําเปน
34
DC Jayasuriya, HIV Law, Ethics and Human Rights – Text and Materials, (New Delhi: UNDP),1995 p.103
35
http://www.comlaw.gov.au/Details/C2013C00022 , visited 12 พ.ย. 2556
36 Sect.4 (c),(d), 7 และ 8
37 Part II Divsion I and II