Page 36 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 36

15


               อุปสรรคที่สําคัญตอการแกไขปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีอยางมีประสิทธิภาพ หลักการดังกลาว
                                                                                                   21
               ยังถูกนําเสนอในขอมติแหงที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติในป 2534 และการประชุมเวทีอื่นๆ อีกดวย
                       ป 2536  สํานักงานขาหลวงใหญสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติและโครงการโรคเอดสแหง
               สหประชาชาติไดจัดการประชุมหารือระดับระหวางประเทศวาดวยเชื้อเอชไอวี/เอดสและสิทธิมนุษยชน ครั้งที่
               2  และมีการรับหลักการแนวปฏิบัติระหวางประเทศวาดวยเชื้อเอชไอวี/เอดสและสิทธิมนุษยชน
               (International Guidelines on HIV/AIDS and Human Rights) ซึ่งไดมีการแกไขปรับปรุงเมื่อป พ.ศ. 2545
                                 22
               และ 2549 ตามลําดับ  แนวปฏิบัติดังกลาวไดวางแนวทางที่สําคัญในการคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อ
               และผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี แนวปฎิบัติฯไดกําหนดพันธกรณีของรัฐที่เกี่ยวกับสิทธิดังตอไปนี้ การไมถูกเลือก
               ปฏิบัติทางสุขภาพ การเขาถึงขอมูล การศึกษา การจางงาน สวัสดิการทางสังคม และการมีสวนรวมกับ
               สาธารณะ ซึ่งเปนประเด็นสําคัญตอการลดความเปราะบางทางสังคมของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีและเปน

               หลักประกันในการไดรับการดูแลและสนับสนุน ที่สําคัญไปกวานั้น แนวปฏิบัติขอที่ 5 ไดเสนอใหรัฐบัญญัติ
               กฎหมายวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติ เพื่อคุมครองกลุมผูเปราะบางทางสังคม ผูติดเชื้อเอชไอวีและคนพิการ
               จากการเลือกปฏิบัติทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และใหหลักประกันสิทธิสวนบุคคลและหลักการรักษา
               ความลับ รวมตลอดถึงจัดใหมีระบบการเยียวยาจากการละเมิดสิทธิดังกลาวอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ใน

               ประเด็นเกี่ยวกับการจางงาน แนวปฏิบัติขอที่ 10 ไดกําหนดให รัฐควรใหหลักประกันวา รัฐบาลและสถาน
               ประกอบการพัฒนาแนวปฏิบัติเกี่ยวกับประเด็นดานเอดสกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน แมวาแนวปฏิบัติฯไมมี
                                                                                                     23
               ผลผูกพันทางกฎหมาย แตไดวางหลักการที่สําคัญที่รัฐควรนําไปปฏิบัติในการบัญญัติหรือปฏิรูปกฎหมาย
                       ป 2544 ถือไดวามีความกาวหนาในการพัฒนากรอบกฎหมายและแนวปฎิบัติดานเอดสอยางมาก ใน
               การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษวาดวยเรื่องโรคเอดส (United Nations General Assembly on
               Special Session of AIDS หรือ UNGASS) ไดมีมติรับหลักการปฏิญญาวาดวยเรื่องพันธกรณีเรื่องโรคเอดส
               (Declaration of Commitment on HIV/AIDS) ซึ่งเปนมาตรการสากลที่ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย แตให
               แนวทางในการดําเนินงานในการปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี การดูแลและการสนับสนุน รวมตลอด

               ถึงบทบาทที่สําคัญของหลักการสิทธิมนุษยชนในการคุมครองกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ปฏิญญาฯ ดังกลาวยังให
               ความสําคัญกับหลักการไมเลือกปฏิบัติในทุกมิติ รวมถึงการไมเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของกลุม
               ผูติดเชื้อเอชไอวี (Discrimination at work) ซึ่งถือเปนปจจัยที่เปนอุปสรรคโดยใหพิจารณาควบคูไปกับแนว

               ปฏิบัติระหวางประเทศวาดวยเชื้อเอชไอวี/เอดสและสิทธิมนุษยชน และในปเดียวกันนี้เอง UNAIDS ไดพัฒนา
               Protocol for the Identification of Discrimination against People living with HIV (The Protocol)
               โดยมีจุดมุงหมายเพื่อเปนแนวทางในการพิจารณาการเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากโรคเอดส  ทั้งจากกฎหมาย
                                                                                              24
               นโยบาย การปฏิบัติ และกําหนดหลักการสําคัญเพื่อเปนตัวชี้วัดการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม  นอกจากนี้
               ในป 2549 และป 2554 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติไดมีมติรับหลักการปฏิญญาวาดวยพันธกรณีเรื่องโรค



               21
                 ดูเพิ่มเติมใน Report of an International Consultation on AIDS and Human Rights, Geneva, 26 to 28 July
               1989 (HR/PUB/90/2)และ UN General Assembly resolution A/Res/46/203, 20 December 1991.
               22
                 ดูเพิ่มเติม Report of the Secretary-General to the Commission on Human Rights, E/CN.4/1997/37
               23
                 Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights and the Joint United Nations
               Programme on HIV/AIDS (OHCHR/UNAIDS) (2006) HIV/AIDS and Human Rights, International Guidelines,
               (Consolidated version) (New York and Geneva, UN)
               24 UNAIDS, Protocol for the Identification of Discrimination against People Living with HIV, Geneva: UNAIDS,
               2000
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41