Page 35 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 35

14


                                                             14
               ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2491 (1948)  กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
                                           15
               ทางการเมือง พ.ศ. 2509 (1966)  กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม พ.ศ.
                           16
               2510  (1967)  อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ พ.ศ.
                           17
               2508 (1965)  อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ พ.ศ. 2522
                                                             19
                                                                                                        20
                     18
               (1979)  อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก พ.ศ. 2532 (1989)  อนุสัญญาวาดวยสิทธิผูพิการ พ.ศ. 2549 (2006)
               เปนตน
                       แมวา ตราสารระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชนดังกลาวไดกลาวถึง การหามมิใหมีการเลือกปฏิบัติ
               ตอบุคคลหรือกลุมบุคคลดวยเหตุแหง เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความพิการและสถานภาพอื่นๆ จาก
               การศึกษาพบวา ยังไมมีตราสารระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชนฉบับใดหามมิใหเลือกปฏิบัติตอกลุม
               บุคคลที่ติดเชื้อเอชไอวีในฐานะเหตุแหงการเลือกปฏิบัติ จนกระทั่งในทศวรรษที่ 1990  คณะมนตรีสิทธิ

               มนุษยชนแหงสหประชาชาติไดขยายความ การเลือกปฏิบัติใหรวมถึง การเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความ
               แตกตางแหง “สถานภาพอื่นๆ” ซึ่งใหมีความหมายครอบคลุมถึงลักษณะตางๆที่ไมไดกําหนดไวเปนการเฉพาะ
               และรวมตลอดถึง “สภาวะทางสุขภาพ”  ดวย ดังนั้นหากตีความตามคํานิยามดังกลาว การเลือกปฏิบัติตอ
               ผูติดเชื้อเอชไอวีหรือผูที่เชื่อวาเปนผูติดเชื้อเอชไอวีจึงเปนการเลือกปฏิบัติที่ถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้น

               พื้นฐานที่ไมอาจกระทําไดภายใตตราสารระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชน

                   2.1.2 การเคลื่อนไหวในเวทีระหวางประเทศวาดวยประเด็นสิทธิมนุษยชนและเชื้อเอชไอวี/เอดส

                       นอกจากกรอบกฎหมายระหวางประเทศที่กลาวมาแลว ในชวงทศวรรษที่ 1990  ถือไดวามีการ
               เคลื่อนไหวอยางตอเนื่องโดยองคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของอาทิ องคการอนามัยโลก (World Health
               Organization หรือ WHO) โครงการโรคเอดสแหงสหประชาชาติ (the Joint United Nations Programme
               on HIV/AIDS หรือ UNAIDS) และองคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labour Organization
               หรือ ILO) ในการผลักดันเวทีหารือเพื่อนํามาซึ่งแนวทางในการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดสในมิติตางๆ รวม

               ตลอดถึงในมิติของกฎหมายวาดวยสิทธิมนุษยชนของกลุมผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวี
                       ระหวางป 2531 – 2532 ประเด็นสิทธิมนุษยชนและเอชไอวี/เอดส ไดถูกนํามาพิจารณาเปนครั้งแรก
               โดยองคการอนามัยโลกและ United Nations Centre of Human Rights ในเวทีหารือระหวางประเทศ ครั้ง

               ที่ 1 วาดวยโรคเอดส และสิทธิมนุษยชน ซึ่งระบุวา การเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีและกลุมเสี่ยงถือเปน






               14
                 The Universal Declaration of Human Rights (UDHR), 1948, Art. 1, 2 and Art.7
               15
                 The International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR), 1966, Art.1 (1), (2), 2 (1),(2),3 and 26
               16
                 The International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (ICESCR), 1967, Art.1 (1),(2),2 (2),(3)
               and 3
               17 The International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination (CERD), 1965, Art.1
               (1), (4), 2 (1) (a) –(e), (2) and 5
               18
                 The International Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women (CEDAW),
               1979, Art.1, 2(a)-(g), 3, and 4(1),(2)
               19
                 The Convention of the Rights of the Child (CRC), 1989, Art. 2 (1),(2), 5 and 30
               20  The Convention on the Rights of Persons with Disabilities (CRPD), 2006, Art.2, 3(a)-(h), 4 (1) (a)-(e),5(1)-(4),
               12 (1)-(3)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40