Page 33 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 33

12


               2.1 หลักการและมาตรฐานสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ศึกษากรณีสิทธิมนุษยชน

               ในการประกอบอาชีพ


                   2.1.1 หลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัติ ภายใตกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ
                       แมวาความพยายามในการปองกันปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีไดมีความกาวหนาอยางมาก
               ดังจะเห็นไดจากสถิติจํานวนผูติดเชื้อเอชไอวีรายใหมทั่วโลกลดลงอยางตอเนื่อง ในทางกลับกัน จํานวนผูที่อยู
               รวมกับเชื้อเอชไอวีทั่วโลกยังคงอยูในอัตราที่สูงถึง 34 ลานคน ซึ่งในจํานวนดังกลาวเปนกลุมบุคคลที่อยูในกําลัง
                             11
               แรงงานถึง 88%  การที่มีจํานวนผูติดเชื้อเอชไอวีซึ่งอยูในวัยทํางานสูงนั้นสงผลใหเกิดความทาทายตอรัฐและ
               ภาคการผลิต (ทั้งในและนอกระบบ) ตอการแกไขปญหาในทุกมิติเปนอยางมาก กอปรกับสาธารณชนสวนใหญ
               ยังขาดความรูความเขาใจและความตระหนักในปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีถือเปนปจจัยสําคัญใน
               การสรางความกลัวและอคติของสาธารณะตอผูติดเชื้อเอชไอวีซึ่งกอใหเกิดการตั้งขอรังเกียจ การกีดกันทาง

               สังคมและการเลือกปฏิบัติ อันเปนที่มาของปญหาความไมเสมอภาคเทาเทียมและการละเมิดสิทธิมนุษยชนตอ
               กลุมบุคคลดังกลาว
                       ปญหาการเลือกปฏิบัติ รวมตลอดถึงการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
               กอใหเกิดผลกระทบตอการดํารงชีวิตและการทํางานอยางมีคุณคาตอกลุมบุคคลดังกลาว นอกจากนี้ยังเปน

               อุปสรรคตอการพัฒนาที่ยั่งยืน เนื่องจากแรงงานที่เปนผูติดเชื้อเอชไอวีจํานวนมากอาจตองจบอาชีพลงจากการ
               เลือกปฏิบัติและอคติจากนายจางและเพื่อนรวมงาน ในขณะที่รัฐบาลและสถานประกอบการมีความไมมั่นคง
               เนื่องจากตองสูญเสียแรงงานในการพัฒนาธุรกิจและประเทศ ดวยเหตุดังกลาว รัฐประเทศและองคการระหวาง
               ประเทศจึงจําเปนตองใหความสําคัญตอการแกไขปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีที่ตั้งอยูบนพื้นฐานแหง

               สิทธิมนุษยชน (Rights  based) ที่ใหความสําคัญตอหลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อ
               เอชไอวีหรือที่เชื่อวาเปนกลุมเสี่ยงตอการเปนผูติดเชื้อเอชไอวี เชน กลุมชายรักชาย ผูประกอบอาชีพใหบริการ
               ทางเพศ หรือผูที่ติดยาเสพติดโดยใชเข็มฉีดยาเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นดังกลาว
                       โดยทั่วไป หลักความเสมอภาคนั้น ถือเปนหลักการพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตย ความเสมอภาค

               แบงไดเปน ความเสมอภาคทางกฎหมาย (juridical equality) และความเสมอภาคเชิงเนื้อหา (substantive
               equality)
                       ความเสมอภาคทางกฎหมาย หมายถึง แนวคิดที่มองวาบุคคลในสถานการณเดียวกันหรือที่เหมือนกัน

               ควรไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกัน แนวคิดดังกลาวมองวากฎหมายหรือการปฏิบัติใดที่มีวัตถุประสงคในการ
               ปฏิบัติตอบุคคลในสถานการณที่เหมือนกันโดยแตกตางจะสงผลตอการเลือกปฏิบัติโดยตรง (direct
               discrimination) สําหรับแนวคิดนี้ไมไดใหความสําคัญกับปจจัยเชิงโครงสรางตางๆ ที่ทําใหบุคคลมีความ
               แตกตางกัน ดังนั้นเมื่อความแตกตางไมไดถูกนํามาพิจารณาการปฏิบัติตางๆมักจะไมไดคํานึงถึงจุดมุงหมายของ
               ความเสมอภาคในความหมายอยางกวาง

                       ความเสมอภาคเชิงเนื้อหา หมายถึง แนวคิดที่มองวาบุคคลในสถานการณที่ตางกันควรไดรับการ
               ปฏิบัติที่ตางกัน แนวคิดดังกลาวใหความสําคัญกับ ความเสมอภาคของผลที่เกิดขึ้น (equality of results)
               และความเสมอภาคในโอกาส (equality of opportunity) :

                       -  ความเสมอภาคในผลลัพธ ใหความสําคัญกับผลของมาตรการตางๆจะตองเทาเทียม เนื่องจากการ
                          ปฏิบัติที่เหมือนกัน ในทางปฏิบัติ อาจกอใหเกิดความไมเทาเทียมกันเนื่องจากการเลือกปฏิบัติทั้ง


               11 ป 2554 มีผูติดเชื้อเอชไอวีรายใหม จํานวน 2.5 ลานคนทั่วโลก ลดลงจากป 2544 ถึง 20 %, Global Report: UNAIDS
               Report on the Global AIDS Epidemics 2012,  Geneva: UNAIDS, หนา 8
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38