Page 24 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 24

3


                       (1.2) ศึกษาสภาพการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในมิติตางๆ เชน การเลือกปฏิบัติ การไม
               เสมอภาค การดูถูกเหยียดหยาม การละเมิดศักดิ์ศรี การกีดกัน ฯลฯ และรวบรวบขอมูล ขอเท็จจริงอันเปน

               สาเหตุและปจจัยที่ทําใหเกิดปญหา รวมถึงผลกระทบในมิติสิทธิมนุษยชนตอกรณีการเลือกปฏิบัติในการ
               ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยศึกษาจากกลุมเปาหมายในพื้นที่/ชุมชน ประกอบดวย 1) กลุมผูติดเชื้อ
               เอชไอวี 2 ประเภท คือ กลุมที่มีงานทํา และกลุมที่เคยถูกปฏิเสธไมรับเขาทํางานหรือถูกเลิกจาง 2) กลุม
               ผูใกลชิดผูติดเชื้อเอชไอวี 3) กลุมนายจาง/เจาของสถานประกอบการ 4) กลุมลูกจางในสถานประกอบการ

               และ 5) กลุมเจาหนาที่ของรัฐ เอกชน และองคกรพัฒนาเอกชน ที่ทํางานเกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวีโดย
               กําหนดจํานวนกลุมตัวอยางในแตละกลุมใหมีปริมาณเพียงพอในระดับที่จะทําใหขอมูลงานศึกษาวิจัยไดรับ
               ความเชื่อมั่นและเปนตัวแทนที่ยอมรับไดทางวิชาการ
                       (1.3) ศึกษาวิเคราะหแนวนโยบายของรัฐ หลักการและมาตรการที่เกี่ยวของกับการปกปองคุมครอง

               สิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี ตามกฎหมาย นโยบายของรัฐ มาตรการและแนวปฏิบัติตางๆ
               รวมทั้งการดําเนินงานของหนวยงานที่รับผิดชอบในเรื่องดังกลาว วามีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการ
               ปกปองคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบ
               อาชีพไดหรือไม เพียงใด

                       (1.4)   ศึกษาและเสนอแนะรูปแบบที่เหมาะสมในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบ
               อาชีพ และการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ประสบปญหาดังกลาว และจะตองสรุปเปนขอเสนอแนะเชิง
               นโยบายและ หรือขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมายตอหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ

                   (2)  จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนําเสนอรางรายงานการศึกษาวิจัย และใหมีการวิพากษงานศึกษาวิจัย
               โดยผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ โดยมีผูเขารวมประชุมประกอบดวย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               คณะอนุกรรมการ ผูบริหารและเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ นักวิชาการ ผูแทน
               หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนและภาคประชาชนที่ทํางานเกี่ยวของกับ
               ผูติดเชื้อเอชไอวี

                   (3)  พิจารณาทบทวนและปรับปรุงรายงานการศึกษาวิจัย ตามความเห็นและขอเสนอแนะจากการประชุม
               เชิงปฏิบัติการ และจัดทํารายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ
               เอชไอวี ฉบับสมบูรณ


               1.4 กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษาวิจัย: การตีตราและการเลือกปฏิบัติ (Stigma and Discrimination)
                       เมื่อป 1987 Jonathan Mann ผูอํานวยการ WHO Global Programme on AIDS ไดกลาวถึงการ
               แพรระบาดของเชื้อเอชไอวีและโรคเอดสไวอยางนาสนใจ โดยแบงออกเปน 3 ระยะคือ ระยะแรก เปนการแพร
               ระบาดของเชื้อเอชไอวี ระยะที่สองเปนการแพรระบาดของโรคเอดส และระยะที่สาม เปนการแพรระบาดของ

               การตีตรา การเลือกปฏิบัติและการไมยอมรับ (ผูติดเชื้อ) โดยชี้ใหเห็นวา ระยะที่สามนี้ เปนระยะที่สําคัญและมี
                                                                          1
               ความทาทายตอวงการเอดสโลกเทาๆ กับตัวโรคเอดสเสียดวยซ้ําไป  และแมวาจะมีความพยายามระดับ
               นานาชาติในการตอสูกับโรคเอดสและเชื้อเอชไอวี แตปญหาการตีตราและการเลือกปฏิบัติก็ยังคงมีอยูในกลุม

               ผูที่ขาดความเขาใจในเรื่องการแพรระบาดของโรค


               1                                                       nd
                 Mann, J..Statement at an Informal Briefing on AIDS to the 42  Session of the United Nations
               General Assembly, 20 October 1987, New York cited in Richard Parker et.al. HIV/AIDS-related Stigma and
               Discrimination: A Conceptual Framework and an Agenda for Action. Horizons Program, 2002 [online]
               available at http://hivaidsclearinghouse.unesco.org/search/resources/horizons.pdf
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29