Page 29 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 29

8


               อภิปรายที่มีประสบการณ  และการใหขอมูลจากผูเชี่ยวชาญในเวทีใหญที่ผูเขารวมมีโอกาสซักถาม และการ
               สํารวจความคิดเห็นในขั้นสุดทาย โดยหลักการ ผูเขารวมกระบวนการจะมีโอกาสในการทบทวนสิ่งที่ฟงมาจาก

               เวทีใหญกอนจะตัดสินใจตอบแบบสํารวจ การใหขอมูลกับผูเขารวมอยางรอบดานจึงเปนเรื่องสําคัญ ในบาง
                                                                             8
               กรณีอาจมีการใหขอมูลกับผูเขารวมเพื่อเปนการเตรียมการลวงหนาอีกดวย
                       แตสําหรับในงานวิจัยครั้งนี้ จะปรับรูปแบบจากการสํารวจความเห็นมาเปนการสนทนากลุม ตั้งแตการ
               เลือกผูเขารวมสนทนากลุม จะใชวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเพื่อใหไดผูที่สามารถใหขอมูลไดอยางชัดเจนใน

               เรื่องนั้นๆ (ในขณะที่การสํารวจความเห็นแบบปรึกษาหารือใชการสุมเลือก) และในกระบวนการสนทนากลุมนี้
               จะมีขั้นตอนดังนี้
                       -  เริ่มจากการตั้งคําถามเบื้องตนถึงสภาพปญหา สาเหตุและปจจัยที่กอใหเกิดการเลือกปฏิบัติในการ
                          ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ และผลกระทบที่เกิดขึ้น

                       -  ใหขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับการแพรกระจายและการติดเชื้อเอชไอวีมาตรฐานสากลของการ
                          คุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
                       -  ยอนกลับมาใหผูเขารวมสนทนาใครครวญ ถกแถลงถึงคําถามเดิมและตอบคําถามอีกครั้ง
                       -  รวมกันพัฒนาขอเสนอที่เปนทางออกสําหรับปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของ

                          ผูติดเชื้อ

                       นอกจากการเก็บขอมูลขางตนแลว ผูวิจัยยังกําหนดใหมีการศึกษากรณีศึกษาเพิ่มเติมดวย โดยเฉพาะ

               กรณีศึกษา Best Practices ในกิจการที่ไมมีการเลือกปฏิบัติ หรือมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการจางงานจาก
               การเลือกปฏิบัติมาสูการไมเลือกปฏิบัติ โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับประเด็นที่เกี่ยวของกับเหตุปจจัยในการ
                                                       9
               เปลี่ยนแปลงแนวทางปฏิบัติตอผูติดเชื้อเปนหลัก
                       เมื่อผูวิจัยเก็บขอมูลครบทุกกลุมแลว จึงประมวลผลขอมูลเพื่อยกรางเปนผลการศึกษาที่แสดงถึง
               ปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อในสังคมไทย สาเหตุ/ปจจัยของการเลือกปฏิบัติ และ

               ผลกระทบที่เกิดขึ้น พรอมกับสรุปสังเคราะหและยกรางขอเสนอในดานนโยบายและกฎหมายคุมครองสิทธิใน
               การประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี และนํารางรายงานดังกลาว เสนอตอ เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการของ
               ผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder’s  Workshop#2) กอนจะนําเสนอตอเวทีสาธารณะ และปรับปรุงเปน

               รายงานฉบับสมบูรณตอสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตอไป
                       สําหรับภาพรวมของกรอบการศึกษาและขั้นตอนการศึกษา สามารถดูไดในแผนภาพที่ 1

















               8
                 James Fishkin and Cynthia Farrar,. Deliberative Polling: From Experiment to Community Resource.
               InGastil, John and Levine, Peter.eds.The Deliberative Democracy Handbook: Strategies for Effective Civic
               Engagement in the Twenty-First Century. pp. 68-79. San Francisco: Jossey-Bass, 2005.
               9 เปนระเบียบวิธีการเก็บขอมูลที่มีการเพิ่มเติมจากที่ประชุมเชิงปฏิบัติการผูมีสวนไดสวนเสีย ครั้งที่ 1
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34