Page 28 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 28

7


                       โดยกําหนดใหมีการเก็บขอมูลจากผูมีสวนไดสวนเสียใน 6 กลุม โดยวิธีการดังนี้
                           กลุม                           วิธีการ                         จํานวน

               ผูติดเชื้อ                   การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัด
               - กลุมที่มีงาน               สนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ                   10 – 12 คน
               - กลุมที่เคยถูกปฏิเสธ/เลิกจาง   (deliberative focus group) ครอบคลุม

               กลุมผูใกลชิดผูติดเชื้อ    พื้นที่เมือง-ชนบท และประเภทกิจการ          15 – 20 คน
               กลุมนายจาง/เจาของสถาน      การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัด             8-10 คน
               ประกอบการ                     สนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ ครอบคลุม
                                             กิจการของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน

                                             โดยเฉพาะกิจการอาหารและกิจการ
                                             ตอเนื่อง, กิจการบริการ รวมกับการศึกษา
                                             กรณีศึกษา
               กลุมลูกจางในสถานประกอบการ การจัดสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ                 8-10 คน

               และตัวแทนสหภาพแรงงาน
               กลุมเจาหนาที่รัฐ/เอกชน/องคกร การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัด         8 – 10 คน
               พัฒนาเอกชนที่ทํางานเกี่ยวของ  สนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ

               กับผูติดเชื้อ
               กลุมผูเชี่ยวชาญดานเชื้อเอชไอวี  สัมภาษณเชิงลึก                          1-2 คน

                       สําหรับเกณฑพิจารณาคัดเลือกชุมชน/กรณีศึกษา จะมีความครอบคลุมทั้งความหลากหลายเชิงพื้นที่

               พื้นที่เมือง-ชนบท และประเภทกิจการ โดยเฉพาะกิจการที่มีความเปราะบางตอการเลือกปฏิบัติเปนพิเศษ
                                                                                7
               อยางเชน กิจการบริการ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจอาหารและกิจการตอเนื่อง เปนตน
                       การเก็บขอมูลในทุกกรณีใชการสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัดสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ

               (Deliberative Focus Group) ยกเวน กรณีกลุมผูเชี่ยวชาญดานเชื้อเอชไอวีเทานั้น ที่ใชการสัมภาษณ
                       สําหรับการสัมภาษณเชิงลึก (in-depth interview) เปนเครื่องมือที่เหมาะสําหรับการเก็บขอมูลกับ
               ผูใหขอมูลหลักในแตละกลุม หรือกรณีศึกษาที่แตกตางไปจากกรณีทั่วไป ในขณะที่การสนทนากลุม (Focus
               Group) จะเปนเครื่องมือที่ตองการเก็บขอมูลที่เปนความเห็นของกลุมมากกวา

                       อยางไรก็ดี การสนทนากลุมในการวิจัยครั้งนี้ไมใชการสนทนากลุมโดยทั่วไป แตเปนวิธีการที่พัฒนามา
               จากการสํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือ (Deliberative  Polling) ซึ่งเปนวิธีการที่ James  Fishkin
               ออกแบบโดยใหความสําคัญกระบวนการอภิปรายที่ผูเขารวมมีขอมูลมากเพียงพอ และสามารถชั่งน้ําหนักของ
               ขอเสนอตางๆ ที่เกิดขึ้น คุณภาพของการปรึกษาหารือขึ้นอยูกับ ความสมบูรณในการเสนอประเด็นจากทุกฝาย

               ขอมูลที่มีความแมนยําในเชิงเหตุผล ความมีสํานึกในการตัดสินใจ (conscientiousness)
                       โดยทั่วไป การคัดเลือกผูเขารวมสํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือจะมาจากการสุมเลือกโดย
               พิจารณาความครอบคลุมของภูมิหลัง ความแตกตางทั้งในดานพื้นที่ ลักษณะประชากร โครงสรางของ
               กระบวนการสํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือ ประกอบดวย การอภิปรายกลุมยอยโดยมีผูดําเนินการ




               7 เกณฑการพิจารณาความหลากหลายของพื้นที่/กรณีศึกษา ไดรับการปรับปรุงเพิ่มเติมจากการประชุมเชิงปฏิบัติการผูมีสวนได
               สวนเสีย ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555 รายละเอียดดูในภาคผนวก 1
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33