Page 20 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 20

XV


                       257 (7) ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และมาตรา 24 แหง
                                                                            7
                       พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
                   (2) คณะกรรมการสิทธิมนุษชนแหงชาติ ตองใหความสําคัญกับการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการ
                       ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ตนเหตุคือ การขาดความรูความเขาใจที่สําคัญในเรื่องการติดตอ
                       และสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวี จึงจําเปนตองใหความสําคัญกับมาตรการสรางความรูความเขาใจเพื่อ
                       การแกไขปญหาการละเมิดสิทธิ สงเสริมใหมีการสรางความรูความเขาใจตอสาธารณชน ในเรื่องการ

                       ติดเชื้อเอชไอวี ความกาวหนาในการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี เพื่อเปนการขจัดมายาคติอันเปน
                       สาเหตุสําคัญของการเลือกปฏิบัติ โดยในการรณรงคใหความรูเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
                       ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรผนวกเนื้อหาที่ครอบคลุมถึงสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อ
                       เอชไอวี ซึ่งจําเปนตองรวมไปถึงการเสริมความรูเรื่องการติดเชื้อเอชไอวี ความกาวหนาในการดูแล

                       รักษาผูติดเชื้อเอชไอวี เพื่อเปนการขจัดมายาคติอันเปนสาเหตุสําคัญของการเลือกปฏิบัติ  และ
                       จําเปนตองใหความรูกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหมีความรูความเขาใจที่ถูกตองตอการคุมครองสิทธิ
                       มนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีดวย
                   (3) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตองเรงดําเนินการตรวจสอบและเสนอมาตรการการแกไข

                       โดยเร็ว ในกรณีที่มีขอรองเรียนเรื่องการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี ไมวาจะเปนเรื่องการประกอบ
                       อาชีพ หรือเรื่องการศึกษาซึ่งมีอิทธิพลตอการประกอบอาชีพในอนาคต เพื่อใหผูติดเชื้อเอชไอวีเขาถึง
                       การคุมครองสิทธิมนุษยชนอยางรวดเร็ว และในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ไม

                       สามารถแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อได ใหพิจารณาเสนอเรื่องไปยัง
                                                                       8
                       กลไกในกระบวนการยุติธรรมตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ  ไดแก ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 257 (3))
                       หรือศาลปกครอง (มาตรา 257 (4)) ในกรณีที่เปนการละเมิดสิทธิจากภาครัฐ เปนโจทกฟองคดีตอศาล
                       ยุติธรรมในกรณีที่เปนการละเมิดสิทธิในภาคเอกชน (มาตรา 257 (5)) หรือเปนโจทกรวมฟองคดีกับ
                       ผูเสียหาย เพื่อสรางบรรทัดฐานการไมเลือกปฏิบัติและการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของ ผู

                       ติดเชื้อเอชไอวีในอนาคต
                   (4) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรเสนอแนะใหรัฐบาล โดยกระทรวงแรงงานใหความสําคัญ
                       กับประเด็นการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี มีการรณรงคใหสาธารณชน

                       เห็นความสําคัญของปญหาการเลือกปฏิบัติมากขึ้น ตลอดจนผลักดันใหมาตรการปองกันการเลือก


               7  ตามมาตรา 257 (7) แหงในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนไวดังนี้ “สงเสริมความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการเอกชน และองคการอื่นใน
               ดานสิทธิมนุษยชน” และมาตรา 23-24 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 กลาวถึง
               บทบาทขององคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนในฐานะกลไกการทํางานรวมกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               8
                รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257
               “(2) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา บทบัญญัติแหงกฎหมายใด
               กระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา
               ดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
               (3) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใด
               ในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย  ทั้งนี้ตาม
               พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
               (4) ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เมื่อไดรับการรองขอจากผูเสียหายและเปนกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหาการ
               ละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวม  ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25