Page 17 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 17

XII


               การตรวจเลือดถือเปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคล และเปนทั้งความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาและประมวล
               กฎหมายแพงและพาณิชย

                       แมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดรับรองและคุมครองบุคคลจากการเลือกปฏิบัติ จากการศึกษา
               พบวา ปญหาเชิงโครงสรางของระบบกลไกการรองทุกขภายใตรัฐธรรมนูญซึ่งมีกระบวนการและขั้นตอนที่
               ซับซอนและอาจตองใชเวลานานเกินความจําเปนเนื่องจากมีความทับซอนในเขตอํานาจขององคกรที่เกี่ยวของ
               หลายองคกร เชน กรณีที่บุคคลถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพสิทธิที่รัฐธรรมนูญรับรองไว หากจะใชสิทธิทางศาล

               รัฐธรรมนูญเพื่อมีคําวินิจฉัยในกรณีมีบทบัญญัติแหงกฎหมายขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ จะสามารถกระทําไดก็
               ตอเมื่อไดดําเนินการตามชองทางอื่นๆ (มาตรา 212)  เชน ยื่นคํารองผานผูตรวจการแผนดิน (มาตรา 245)
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (มาตรา 257) หรือ ศาล (มาตรา 211) กลายเปนอุปสรรคสําคัญที่ทําให
               บุคคลผูถูกกระทบสิทธิประสบปญหาการเขาถึงกลไกการรองทุกขและการไดรับการเยียวยาจากการเลือก

               ปฏิบัติ เนื่องจากไมตองการที่จะเขาสูกระบวนการตามกลไกที่มีอยู ดังนั้น ควรมีการพิจารณาพัฒนากลไกการ
               รองทุกขที่มีความสอดคลองกับความตองการของผูติดเชื้อเอชไอวี
                       นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบวา การดําเนินกิจกรรมการสงเสริมการเขาถึงกลไกการรองทุกขของ
               หนวยงานที่เกี่ยวของในที่นี้ คือ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม ยังขาดการบูรณาการในมิติตางๆ อยางชัดเจน

               อาทิ การบริหารจัดการฐานขอมูลรวมกัน แนวปฏิบัติในการสรางกลไกการสงตอ และระบบการติดตาม
               ประเมินผลอยางมีประสิทธิภาพ สงผลกระทบตอการกําหนดแผน หรือยุทธศาสตรดานการสงเสริมการเขาถึง
               กลไกการคุมครองอยางเปนระบบ


               3.  ขอเสนอแนะจากการศึกษา
                       ในการเสนอแนะรูปแบบที่เหมาะสมในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติด
               เชื้อเอชไอวีในที่นี้ คณะผูวิจัย แบงขอเสนอเปน 2 แบบ คือ ขอเสนอเชิงนโยบายที่เกี่ยวของกับกฎหมาย ซึ่ง
               ไดมาจากการทบทวนแนวคิดหลักความเสมอภาคในการประกอบอาชีพ หลักการสิทธิมนุษยชนและ

               มาตรฐานสากลที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีโดยสังเคราะหรวมกับ
               ผลการศึกษาสภาพและสาเหตุการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในบริบทประเทศไทย
               และแบบที่สองเปน ขอเสนอแนะแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมในการคุมครองสิทธิในการประกอบ

               อาชีพของผูติดเชื้อ โดยใชมาตรการอื่นๆ แตละสวนมีรายละเอียดดังนี้


                   3.1 ขอเสนอเชิงนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมายเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในการประกอบ
                       อาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี

                       แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จะมีบทบัญญัติเพื่อคุมครองบุคคลจาก
               การเลือกปฏิบัติ ดังที่ปรากฏในมาตรา 30 วรรคสาม แตกฎหมายที่ใชในการคุมครองสิทธิของผูประสบปญหา
               ถูกเลือกปฏิบัติยังมีลักษณะกระจัดกระจาย เชน ในประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพงและ

               พาณิชย อีกทั้งผูประสบปญหาการเลือกปฏิบัติก็ไมสามารถเขาถึงกลไกการคุมครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญได
               โดยตรง จึงมีความจําเปนตองพิจารณาบัญญัติกฎหมายขจัดการเลือกปฏิบัติ ที่กําหนดบรรทัดฐานที่ชัดเจนใน
               การคุมครองกรณีการถูกเลือกปฏิบัติทั้งที่หนวยงานรัฐและหนวยงานภาคเอกชนตองปฏิบัติตาม อันจะเปน

               แนวทางหนึ่งในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติที่ปรากฏในระเบียบปฏิบัติของหนวยงานตางๆ รวมทั้ง การ
               สรางกลไก/กระบวนการคุมครองสิทธิที่ผูถูกละเมิดสิทธิสามารถเขาถึงไดโดยตรง ดังนั้น จําเปนตองมีการ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22