Page 15 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 15

X


                 ระดับการเลือกปฏิบัติ                 ประเภทหนวยงาน/ลักษณะการเลือกปฏิบัติ
                                              สนิทสนม ปรากฏวาลูกคาบางคนก็ไมเชื่อ

                                           -  การบังคับใหผูที่จะเขาอุปสมบทตรวจเลือดตามมติของมหาเถระสมาคม
               หมายเหตุ:
                       1. กิจการที่เปนตัวเอียง เปนกิจการที่เคยมีนโยบายการเลือกปฏิบัติ แตในปจจุบันมีการปรับเปลี่ยนนโยบายแลว
                       2. การเลือกปฏิบัติระดับชุมชนเปนประสบการณที่ผูติดเชื้อประสบในระยะแรกๆ ที่เปดตัว ตอมาหลังจากมีการทํา
               ความเขาใจในระดับชุมชน ก็สามารถแกไขการเลือกปฏิบัติในระดับชุมชนได

                       อยางไรก็ดี ประเด็นสําคัญในเรื่องการเลือกปฏิบัติ มิใชจํากัดอยูเฉพาะเรื่องสถานการณและความ

               รุนแรงในการแกปญหา ผลการศึกษาที่ผานมายังชี้ใหเห็นวา ชองทางในการรองเรียนเพื่อใหเกิดการแกปญหา
               การเลือกปฏิบัติที่ผูติดเชื้อเขาถึงไดงาย และประสบผลรวดเร็วกวา มักจะเปนองคกรภาคประชาสังคมที่มี
               ทรัพยากรจํากัด และแมจะมีชองทางในการรองเรียนตอองคกรภาครัฐและองคกรตามรัฐธรรมนูญ แตก็เขาถึง

               ไดยาก อยางเชน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ก็มีภารกิจที่ครอบคลุมสิทธิมนุษยชนหลายเรื่อง การ
               แกไขปญหาแตละเรื่องจึงใชเวลายาวนาน ประเด็นสําคัญที่ควรพิจารณาตอไปคือ จะผลักดันใหหนวยงานที่มี
               บทบาทหนาที่โดยตรง ดําเนินงานคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีใหมีประสิทธิภาพ
               มากขึ้น และสนับสนุนองคกรภาคประชาสังคมเหลานี้ใหมีทรัพยากรในการดําเนินงานใหมากขึ้น เพื่อให

               สามารถทํางานสงเสริมและคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีไดอยางตอเนื่องและยั่งยืน

                       2.1.2  ผลกระทบจากการเลือกปฏิบัติ
                       จากผลการศึกษา พบวา เมื่อผูติดเชื้อเอชไอวี ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ ผู

               ติดเชื้อไดรับผลกระทบทั้งทางตรง และทางออม ดังนี้
                       ผลกระทบโดยตรง
                   -  ทําใหตองสูญเสียงานและแหลงรายไดหลัก ในบางกรณี ผูติดเชื้อยังรูสึกวาสถานะการติดเชื้อมีผลตอ
               ความกาวหนาในการทํางานดวย

                   -  การบังคับตรวจเลือดในการสมัครงาน ทําใหผูติดเชื้อมีทางเลือกในการประกอบอาชีพนอยลง ขาด
               โอกาสในความกาวหนาในการทํางาน ตลอดจนโอกาสในการเพิ่มรายได
                       ผลกระทบทางออม

                   -  ทําใหผูติดเชื้อยิ่งตีตราบาปใหตัวเอง (self-stigma) หรือเปนการตีตราภายในตนเอง (internal
               stigma) ยอมรับทัศนะของคนรอบขางวา การติดเชื้อเอชไอวีเปนเรื่องผิดบาป นารังเกียจ เห็นวา การเลือก
               ปฏิบัติของคนอื่นๆ เปนเรื่องที่ถูกตอง เหมาะสม ดังนั้น จึงเลือกที่จะไมเปดเผยขอมูลของตนเอง ใชชีวิตอยู
               อยางหวาดระแวง เกรงวาผูอื่นจะรูตลอดเวลา ในหลายกรณีที่ผูติดเชื้อตัดสินใจเปดเผยขอมูลและเขารับการ

               รักษาชาเกินไป ทําใหเสียชีวิตกอนเวลาอันควร
                   -  กรณีที่ผูติดเชื้อเปดเผยตนเองตอคนรอบขางและคนในชุมชนโดยไมสมัครใจ ทําใหตองประสบความ
               ยากลําบากในการดํารงชีวิต ไมเฉพาะตัวผูติดเชื้อ แตรวมถึงครอบครัวและคนใกลชิด ไดรับผลกระทบจากการ
               ถูกตีตราและตั้งขอรังเกียจจากคนในชุมชนดวย

                   -  การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ เปนจุดเริ่มตนหนึ่งที่สงผลใหมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนดาน
               อื่นๆ ของผูติดเชื้อ ไมวาจะเปนการถูกบังคับใหเขารับบริการทางการแพทย รวมทั้งตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี
               การถูกกักตัว กักเพื่อตรวจโรคถูกทอดทิ้งใหโดดเดี่ยว แบงแยกทั้งยังมีการตรวจเลือดการไดรับบริการปรึกษาที่
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20