Page 18 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 18

XIII


               ผลักดันกฎหมายเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติ หรือกฎหมายเพื่อความเสมอภาคในภาพรวมในลักษณะเดียวกับ
               กฎหมายเสมอภาคของประเทศสหราชอาณาจักร และเพื่อลดปญหาการซ้ําเติมการเลือกปฏิบัติ และเสริม

               พลังการขับเคลื่อนกฎหมาย กฎหมายฉบับนี้ ไมจําเปนตองเปนกฎหมายเฉพาะสําหรับผูติดเชื้อเอชไอวี แต
               ตองสังเคราะหรวมกับปญหาการเลือกปฏิบัติในกลุมอื่นๆ ไดแก กลุมคนพิการ ผนวกกลุมเปาหมายอื่นที่
               ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติดวย โดย
                   (1) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผลักดันโดยตรงดวยการเสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการ

                       ปรับปรุงกฎหมายและกฎที่มีเนื้อหาขจัดการเลือกปฏิบัติ ตอรัฐสภาหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อคุมครอง
                       สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนตอผูที่สุมเสี่ยงตอการถูกเลือกปฏิบัติ ตามอํานาจหนาที่ของ
                       คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในบทบัญญัติ มาตรา 257(5) ของรัฐธรรมนูญแหง
                                                     6
                       ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  โดยกําหนดใหมีเนื้อหาที่ครอบคลุมการขจัดการเลือกปฏิบัติตอ
                       กลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ผูที่ไดรับผลกระทบจากเชื้อเอชไอวี รวมถึงกลุมเปาหมายอื่นๆ ที่ประสบปญหา
                       การเลือกปฏิบัติ
                          โดยแนวทางในการบัญญัติกฎหมายดังกลาวจะตอง
                       -  ตั้งอยูบนพื้นฐานแหงสิทธิ (Rights based)

                       -  มีมิติเพื่อตอบสนองตอหญิงชายอยางเทาเทียม (gender responsiveness)
                       -  ใหความสําคัญกับรูปแบบของกลไกการรองทุกข วิธีการเยียวยาและลักษณะขององคกรที่
                          ทําหนาที่รับเรื่องราวการรองทุกขและติดตามประเมินผลและการรายงาน

                          สําหรับบทบัญญัติเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพนั้น
                       -  สงเสริมบทบาทของนายจาง องคกรลูกจางและองคกรภาคประชาสังคมเพื่อสงเสริมการคุมครอง
                          สิทธิของกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีทั้งในระหวางการจัดหางาน การสมัครงานและการจาง
                          งาน

                       -  มีบทลงโทษในกรณีการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ การละเมิดสิทธิสวนบุคคล และการ
                          เปดเผยขอมูลลับตางๆ ที่มีความชัดเจนและเพียงพอ ทั้งบทลงโทษทางอาญาและบทลงโทษทาง
                          แพงเพื่อปองกันการเลือกปฏิบัติ

                       -  สงเสริมการคุมครองสิทธิของกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี ในรูปแบบของการลดหยอนอัตราภาษี
                          หรือการยกเวนภาษี หรือการสนับสนุนทางดานตัวเงิน หรือโครงการความรับผิดชอบตอสังคมตอ
                          สถานประกอบการ นายจางที่มีบทบาทในการสงเสริมการคุมครองสิทธิของกลุมอยูรวมกับเชื้อ
                          เอชไอวีถือเปนประเด็นที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการบัญญัติกฎหมาย


                   (2) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผลักดันทางออมโดยสนับสนุนหรือดําเนินการรวมกับหนวยงาน
                       อื่นที่ดําเนินการอยูแลว เชน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายและองคกรเครือขาย เครือขายคนพิการ
                       โดยกําหนดใหมีเนื้อหาที่ครอบคลุมการขจัดการเลือกปฏิบัติตอกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี และผูที่

                       ไดรับผลกระทบจากเชื้อเอชไอวีดวย โดยมีแนวทางเดียวกับขอ (1)






               6  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 (5) “เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการพัฒนา
               กฎหมาย และกฏ ตอรัฐสภา หรือคณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน”
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23