Page 87 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 87
75
สาระแห่งสิทธิ 10 ด้าน มีความเกี่ยวข้องกับแผนพัฒนาสถิติ
สาขาแรงงาน สาขาสวัดิการสังคม สาขาสุขภาพ สาขาการศึกษา
สาขาประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ สาขาหญิงและชาย
ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดที่ส านักงานสถิติแห่งชาติ
ด าเนินการ
ข้อมูลสถิติที่จะน ามาใช้ในการประเมินตัวชี้วัดทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ ตัวชี้วัดโครงสร้าง ตัวชี้วัด
กระบวนการ และตัวชี้วัดผลลัพธ์ของสิทธิ ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตัวชี้วัดที่มีอยู่ หรือสามารถ
ก าหนดได้ในแผนพัฒนาสถิติสาขาต่างๆ ซึ่งตัวชี้วัดผลลัพธ์ ที่อาจเกี่ยวข้องกับสถิติที่
ส านักงานสถิติแห่งชาติด าเนินการผลิต น่าจะเป็นกลุ่มตัวชี้วัดที่ 5 สิทธิด้านเศรษฐกิจ และ
สวัสดิการสังคม รายละเอียดเพิ่มเติมควรให้บุคลากรของส านักงานสถิติแห่งชาติที่ท าหน้าที่ใน
คณะอนุกรรมการสถิติรายสาขาให้ความเห็นเพิ่มเติม
ความเห็นชุดตัวชี้วัดที่จัดท านั้น แม้จะไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับภารกิจของส านักงานสถิติ
แห่งชาติ แต่การด าเนินการภารกิจด้านบริหารจัดการระบบสถิติและสารสนเทศ ได้มีการ
จัดท าแผนแม่บทสถิติและแผนพัฒนาสถิติสาขาต่างๆ โดยเฉพาะสถิติด้านสังคม สามารถ
สนับสนุนตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้ในระดับหนึ่ง
ประเด็นเรื่องคุณภาพตัวชี้วัดนั้น เห็นว่าโดยรวมตัวชี้วัดที่ก าหนดขึ้นใช้เป็นตัวแทน หรือชี้ถึง
ประเด็นได้ แต่มีตัวชี้วัดบางตัวที่อาจต้องพิจารณาปรับ เช่น
- ความไม่ชัดเจนระหว่างตัวชี้วัดกระบวนการกับตัวชี้วัดผลลัพธ์ (ตัวชี้วัดผลลัพธ์บางตัวควร
จะอยู่ในช่องตัวชี้วัดกระบวนการ)
- ตัวชี้วัดโครงสร้าง ควรจะศึกษากฎหมาย นโยบาย ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
- ตัวชี้วัดกระบวนการส่วนใหญ่จะเน้นการ “มี” แผน หรือแนวการปฏิบัติ แต่อาจจะ
ไม่น าไปสู่การปฏิบัติ ดังนั้นควรเพิ่ม “มีและได้มีการน าไปใช้”
ขณะนี้ส านักงานสถิติแห่งชาติก าลังจัดท าแผนแม่บทสถิติประเทศไทย ซึ่งครอบคลุมข้อมูล
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง โดยมีคณะอนุกรรมการที่ประกอบด้วยผู้แทนส่วนงานต่างๆ
รวมถึงตัวแทนจาก กสม. เพื่อให้ได้ข้อมูลรอบด้าน และสนองความต้องการการใช้งานของ
หน่วยงานให้มากที่สุด ในการนี้ถ้าผู้ศึกษาเห็นว่าต้องการข้อมูลชนิดใดเพิ่มเติม อาจเสนอต่อ
กสม. หรือเสนอว่ามีหน่วยงานใดที่ควรเพิ่มเติมเป็นอนุกรรมการในการจัดท าร่างแผนแม่บท
นอกจากนั้น ส านักงานสถิติแห่งชาติได้รวบรวมร่างแผนพัฒนาสถิติสาขาที่เกี่ยวข้องมาเพื่อ
เป็นข้อมูลประกอบในการเข้าสัมภาษณ์ของคณะผู้ศึกษาและได้มอบให้ผู้ศึกษาไว้จ านวนหนึ่ง
ความเห็นของ พลต ารวจโท อ านาจ อันอาตม์งาม ผู้บัญชาการส านักงานยุทธศาสตร์ต ารวจ
ส านักงานต ารวจแห่งชาติ
การแบ่งตัวชี้วัดเป็นสามประเภทเหมาะสมดีแล้ว แต่สาระแห่งสิทธิบางด้านกว้าง ขาดค า
จ ากัดความที่ชัดเจน ท าให้ขอบเขตของสิทธิไม่ชัดเจนซึ่งอาจมีผลต่อการประเมินการ
ด าเนินงานของเจ้าพนักงานของรัฐ เช่น ค าว่า “โดยพลการ” “การท าลายล้างเผ่าพันธุ์”
“ทรมาน” “การกระท าที่เป็นการย่ ายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” มีความหมายอย่างไร สิ่ง
เหล่านี้ถ้ามีกฎหมาย หรือแนวปฏิบัติที่ชัดเจนก็จะท าให้ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติได้ถูกต้อง