Page 82 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 82

70


                           ช่วงที่สอง  เป็นการวิจารณ์รายงานผลการศึกษาตามโครงการฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิที่วิจารณ์
               รายงานการศึกษาฯ ประกอบด้วย

                                นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ กรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ (ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
                                 สิทธิมนุษยชน)

                                รองศาสตราจารย์ ดร. สมคิด พรมจุ้ย อาจารย์ประจ าสาขาวิชาศึกษาศาสตร์
                                 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวัดผล)
                                ดร. จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร ประธานคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจ าคณะสังคม

                                 สงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และอนุกรรมการด้านสิทธิ
                                 พลเมืองและสิทธิทางการเมือง ของ กสม. (ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิทธิมนุษยชน)

                              ช่วงที่สามเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะระหว่างผู้เข้าร่วมสัมมนา

               ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและจากที่ประชุมฯ มีดังนี้
                                รายงานควรเคร่งครัดในเรื่องรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัย เช่น วัตถุประสงค์ของ

                                 การศึกษา ขอบเขตการศึกษา และวิธีการศึกษา เป็นต้น เนื่องจากเป็นโครงการ
                                 ศึกษาวิจัย และกระบวนการพัฒนาตัวชี้วัดของคณะผู้ศึกษาก็เป็นแบบวิจัย
                                เนื้อหายังไม่มีการอธิบายความหมายตัวชี้วัด ลักษณะตัวชี้วัดที่ดี หรือตัวชี้วัดที่มีคุณภาพ
                                 ควรมีลักษณะอย่างไรซึ่งควรเพิ่มเติมในประเด็นนี้

                                การพัฒนาตัวชี้วัดได้ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมอย่างมาก แต่รายงานยังไม่ได้เสนอ
                                 ความเห็นของผู้เข้าร่วมการประชุมซึ่งเป็นกระบวนการที่ส าคัญ ควรเพิ่มเติม และแสดง

                                 ให้เห็นว่าผู้เข้าร่วมสัมมนามาจากภาคส่วนไหนจ านวนเท่าใด
                                การใช้ค า ในรายงานควรมีความสอดคล้องต้องกันทั้งฉบับ ในกรณีที่เป็นศัพท์ที่มาจาก
                                 ต่างประเทศและมีการแปลไว้หลายความหมายควรใช้ตามที่แปลโดยกระทรวงการต่างประเทศ

                                ผลการศึกษาควรจะต้องแสดงให้เห็นว่าได้ตัวชี้วัดรวมทั้งหมดมีจ านวนเท่าใด และจ าแนก
                                 เป็นตัวชี้วัดโครงสร้างจ านวนเท่าใด ตัวชี้วัดกระบวนการจ านวนเท่าใด ตัวชี้วัดผลลัพธ์
                                 จ านวนเท่าใด

                                ตัวชี้วัดที่น าเสนอมีความครอบคลุมสิทธิด้านต่างๆ ตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ
                                 มนุษยชนและกติการะหว่างประเทศสองฉบับแล้ว การที่ผู้ศึกษาสรุปความเห็นร่วมอัน
                                 ส าคัญ (General Comments) ตลอดจนเอกสารรายงานของประเทศไทยต่อหน่วยงาน

                                 ระหว่างประเทศเป็นพื้นฐานเป็นจุดแข็งของโครงการนี้และจะเป็นพื้นฐานหลักการทาง
                                 กฎหมายให้กับผู้ศึกษาสิทธิมนุษยชนต่อไปได้ แต่ควรที่จะเพิ่มเติมไปถึงพิธีสารเลือกรับ
                                 ด้วย นอกจากนั้นตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนควรที่จะครอบคลุมอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนที่ไทย
                                 เป็นภาคีทั้งหมด ซึ่งอาจจะต้องมีการพัฒนาเพิ่มเติมภายหลัง

                                ควรจัดล าดับความส าคัญชุดตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้น เช่น เป็นตัวชี้วัดที่จะต้องมีหรือขาดไม่ได้
                                 ตัวชี้วัดที่ควรจะต้องมี และตัวชี้วัดที่มาเสริม (เช่น การวัดคุณภาพของผลลัพธ์) ทั้งนี้
                                 จะต้องพิจารณาประกอบกับตราสารสิทธิมนุษยชนว่าประเด็นใดที่ส าคัญที่สุดในสิทธิเรื่อง

                                 นั้นๆ ประเด็นใดเป็นประเด็นรอง ซึ่งในตราสารสิทธิมนุษยชนจะมีสิ่งนี้แสดงอยู่ จะต้อง
                                 พิจารณาประกอบกับเจตนารมณ์ของตราสารนั้นๆ และต้องพิจารณาประกอบกับบท
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87