Page 423 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 423

345


                            สิ่งแวดล้อม สิทธิในการพัฒนา เรื่อง The  Right  to  Peace  เรื่องเหล่านี้ออกมาหลัง UDHR
                            ค าถามถ้าเป็นอย่างนั้น การที่เราจะท าตัวชี้วัด อาจจะต้องเขียนข้อจ ากัดในเรื่องนี้ เพื่อเป็นฐานไว้

                            ส าหรับที่จะไปท าตัวชี้วัดใหม่ๆ ซึ่งคิดว่าจะเป็นงานวิจัยชิ้นใหญ่ชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็น Third
                            generation of rights และยังไม่มีตราสารระหว่างประเทศที่สร้างพันธกรณีทางกฎหมายให้กับรัฐ
                            ที่ส าคัญไปกว่านั้น ถ้าองค์กรในด้านสิทธิจะท าในเรื่องสิทธิ แล้วมาดูปัญหาสิทธิมนุษยชนใน
                            ประเทศไทย ปัญหาหนักคือ สิทธิการพัฒนา สิทธิชุมชน ปัญหาการละเมิดทรัพยากรจากกลุ่มของ

                            ทุนนิยมสุดโต่ง เพราะฉะนั้น การที่จะเอาตัวชี้วัดมาเป็นเครื่องมือในการท างาน แล้วหน้าที่หลัก
                            ขององค์กรด้านสิทธิ หรือสถาบันสิทธิก็คือการ monitor  การละเมิดสิทธิมนุษยชน เพราะฉะนั้น
                            ถ้าเราวัดในสิ่งที่เป็นปัญหาอยู่ แต่ปัญหาใหญ่เรายังไม่ได้วัด เช่น ปัญหาในเรื่องชุมชนที่ถูกละเมิด

                            เป็นต้น เพราะฉะนั้นสิ่งเหล่านี้จะเป็นสิทธิเชิงกลุ่ม (Community  Rights) ในขณะที่สิทธิในเรื่อง
                            สิทธิพลเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เน้นในเรื่องปัจเจกชน (Individualistic
                            Rights)  มาก ส าคัญว่าจะต้องเขียนข้อจ ากัดในการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้เอาไว้

                         หน้า 16  เขียนในเรื่องพันธะหน้าที่ของรัฐ Respect-Protect-Fulfil  ในเรื่องของ Obligation  to

                   Respect เน้นย้ าเรื่องการที่รัฐไม่ไปละเมิด แล้วจะใช้เป็นหลักในเรื่อง Negative Rights สิทธิที่จะไปละเมิด
                   ไม่ได้นั่นคือ ICCPR
                         -  Obligation to Protect หน้าที่ของรัฐไม่ให้ Non-State actor มาจากฐานที่ว่าบุคคลที่ละเมิด

                            ส่วนใหญ่จะเป็นรัฐ เพราะฉะนั้นรัฐจะต้องมีหน้าที่ไปห้ามไม่ให้ non-state actor ไปละเมิด
                         -  Obligation to Fulfil คือ รัฐควรจะมีมาตรการอะไรที่จะท าให้สิทธิเหล่านั้นเป็นจริง รากที่มาจาก
                            General Comments ของคณะกรรมการประจ ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ

                            สังคม และวัฒนธรรม
                         แต่อาจารย์ไม่ได้เขียนข้อจ ากัดตรงนี้ไว้ในหน้า 16 เพราะว่าอาจารย์สรุปเลยว่า ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับ
                   ทางวิชาการว่าพันธกรณีระหว่างประเทศของรัฐมี 3 ด้าน จริงๆ แล้วข้อจ ากัดของการใช้ Obligation ทั้ง 3
                   ด้าน อยู่ตรงนี้ เนื่องจากคณะกรรมการประจ ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม

                   วัฒนธรรม จ าเป็นต้องออกตัว General Comments  นี้มาก็เพราะว่าในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ
                   ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม นั้นมีประโยค ที่มีปัญหาคือ ให้รัฐด าเนินการภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ รัฐ
                   มักอ้างไม่ท าว่าไม่มีทรัพยากร เพราะฉะนั้นคณะกรรมการฯ  บอกว่ารัฐจะมาอ้างแบบนี้ไม่ได้ก็เลยท า
                   พันธกรณีออกมา 3 ระดับ

                         -  Obligation to respect    รัฐมีเงินหรือไม่มีเงินก็ละเมิดไม่ได้
                         -  Obligation to protect     ท าให้เข้มแข็งขึ้น

                         -  Obligation to fulfil        ท าให้เป็นจริง
                         เพราะฉะนั้นถ้าเอามาใช้กับทั้งหมด อาจารย์ต้องเขียนที่มาว่าคืออะไร เพื่อที่คนจะมาใช้เข้าใจว่า
                   ทั้งหลายทั้งปวงไม่ได้เสมอกัน ถ้าเป็นใน ICCPR สิทธิทั้งหมดรัฐละเมิดไม่ได้ ต้องไม่ไปละเมิด แต่ถ้าเป็นสิทธิ
                   ในบางประเภท เช่น สิทธิในการศึกษา สิทธิในสุขภาพ แล้วจ าเป็นต้องใช้ทรัพยากร เวลาวัดต้องไปดูว่าใน

                   แต่ละช่วงปีนั้นรัฐได้ให้ความส าคัญและมีความก้าวหน้าต่อทรัพยากร ใช้ทรัพยากรให้เกิดผลในระดับไหน
                   แล้วจะไปเกี่ยวกับในเรื่องของการใช้ การวัดในตัวสิทธิเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม จะท าให้คนที่ใช้ตัวชี้วัด
                   สามารถเข้าใจได้มากขึ้น



                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 3
   418   419   420   421   422   423   424   425   426   427   428