Page 420 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 420

342


                         เพิ่มเติมในบทที่ 6

                         -  ตัวชี้วัดโครงสร้าง    จ านวน
                         -  ตัวชี้วัดกระบวนการ    จ านวน
                         -  ตัวชี้วัดผลลัพธ์      จ านวน
                         เพิ่มเติมข้อเสนอแนะเชิงนโยบายอยากให้ กสม.ท าอะไรบ้าง ในเชิงปฏิบัติให้ใครท าอะไรบ้าง

                   หน่วยงานใดน าไปใช้ควรจัดล าดับความส าคัญจะช่วยให้ทางส านักงาน กสม. ได้ข้อมูลชัดเจนยิ่งขึ้น
                         ขอขอบคุณอาจารย์ที่ให้เข้ามาร่วมวิพากษ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่นชมอาจารยได้ท าตัวชี้วัดจ านวนมาก
                   ควรคัดเลือกจัดล าดับให้เห็นความส าคัญก่อนหลังจะมีคุณภาพมากขึ้น


                         ความเห็นเพิ่มเติมในการเสนอความเห็นรอบสอง
                         คุณ สรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์  (เพิ่มเติม)
                         ขอแสดงความเห็นสองประเด็น

                         1. เรื่องข้อมูลที่หายากที่อาจารย์จาตุรงค์กล่าว คิดว่ายิ่งหายาก ยิ่งต้องท า
                            เหตุผลข้อแรกคือ ถ้าคนฆาตกรรมผู้อื่น ท าให้หายไป ถ้าจ านวนคนที่ถูกฆาตกรรมน ามาเป็น
                   ตัวชี้วัดว่าการคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชนดีหรือไม่ดีเพียงใดก็มีปัญหา ทางเทคนิคถ้าไม่ท าตัวเลข
                   ฆาตกรรม ก็มีตัวเลขคนหาย ถ้าตัวเลขคนหายมากแสดงว่ากลไกของรัฐในการสืบสวนสอบสวนคดีด้อย

                            เหตุผลข้อที่สอง คือ ข้อเท็จจริงที่จะอธิบายตัวชี้วัดไม่ใช่ภารกิจของคณะผู้ศึกษา แต่เป็นภารกิจ
                   ของรัฐ
                         2. การจัดล าดับความส าคัญที่อาจารย์สมคิดเสนอ ขอย้ าว่าไปดูที่จ านวนตัวเลขไม่ได้ ถ้าจะดู
                   รายละเอียด มีการจัดล าดับความส าคัญอยู่แล้วเป็นมาตรฐานของสากลโดยผ่าน General Comments ข้อ

                   ชี้แนะทั่วไปสามารถดูได้เลยว่าต้องการอะไรบ้าง ใน General  Comments  จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการ
                   ปฏิบัติตามพันธกรณีว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง มีตัวชี้วัดที่ละเอียดที่เป็นรูปธรรม
                            ส าหรับ Concluding Observation ศึกษาดูว่ามีประเด็นอะไรบ้างที่อยู่ในแต่ละประเทศ จะแบ่ง

                   ออกเป็นสองส่วน ส่วนแรก คือ fix cost ทุกประเทศมีเหมือนกันหมด เช่น General Implementation ข้อ
                   ปฏิบัติทั่วไป ส่วนที่ Critical Issus ประเด็นที่ส าคัญซึ่งจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่สถานการณ์ในแต่ละประเทศ
                   ไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นส่วนหลังสามารถน ามาจัดล าดับความส าคัญได้ ส่วนแรกจัดไม่ได้ ทุกประเทศ a
                   must ต้องรายงานเรื่องนี้ จ าเป็นต้องท าตัวชี้วัดให้ครอบคลุม General Implementation ข้อปฏิบัติทั่วไป
                   ต้องมีแน่นอน ซึ่งตัวชี้วัดของประเทศอังกฤษยังมีการคลาดเคลื่อน คือไปดูแค่ตัวบทกฎหมาย การกระจาย

                   ทรัพยากร
                            ส่วน Legal  Framework  ที่โยงไปถึงเรื่อง administrative  measures  หรือมาตรการทางการ
                   บริหาร และโครงสร้างกลไกของการปฏิบัติ ไม่มีตัวบทกฎหมายอย่างเดียว หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย

                   มีกฎหมายหลายๆ ฉบับแต่ไม่มีผลใช้บังคับ
                            เพราะฉะนั้นตัวชี้วัดจะมากหรือน้อยต้องควรมี จ านวนเห็นด้วยว่าควรจะมีน้อยที่สุดเท่าที่จะ
                   เป็นไปได้ แต่ไม่ใช่น้อยเกินไป


                         ผศ.วิชัย ศรีรัตน์
                         เรื่องของ Spirit และขอบเขต Optional Protocol อธิบายเพื่อให้ชัดเจนขึ้น เรื่องของการตีความยัง
                   มีประเด็นความผูกพันเข้าเป็นภาคีแล้วมีผลทันทีหรือไม่ อาจต้องอธิบายเพิ่มเติม

                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 3
   415   416   417   418   419   420   421   422   423   424   425