Page 418 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 418

340


                   ข้อสังเกตที่จะท าให้รายงานวิจัยนี้มีความสมบรูณ์ขึ้น เมื่อบุคคลภายนอกมาอ่านรายงานนี้ก็จะเห็นว่า ชื่อ
                   รายงานการวิจัยเฉพาะโครงร่างต่างๆ ข้างในน่าจะเป็นลักษณะรายงานการวิจัย  ผมมีข้อสังเกตดังนี้

                         บทที่ 1 บทน า
                         หน้า 1 ชื่อบทกว้างกว่ารายละเอียดข้างใน  ความเป็นมา ความส าคัญของปัญหา  ปรับได้เป็นหัวข้อ
                   หนึ่ง ชื่อบทที่ 1 น่าจะเป็น บทน าจะครอบคลุมกว่า ที่อาจารย์น าเสนอความเป็นมา ความส าคัญของปัญหา
                   ชัดเจน วัตถุประสงค์ชัดเจน ขอบเขตชัดเจน

                         หน้า 9 เปลี่ยนเป็นขอบเขตของการศึกษา ท าให้หัวข้อกระชับขึ้นเหมือนที่น าเสนอ เห็นด้วยกับทั้งสอง
                   ท่าน ที่ต้องเติมนิยามศัพท์เฉพาะ สิทธิมนุษยชนเบื้องต้น หมายถึงอะไร ให้คนนอกมาอ่านแล้วทราบว่าต่อไป
                   รายงานเล่มนี้จะรู้ว่าสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นมีอะไรบ้าง มีความหมายครอบคลุมแค่ไหน ผู้วิจัยสามารถไปเติม

                   ได้ ท าให้ผู้ที่มาอ่านเข้าใจความหมาย จะเป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ
                         หน้า 8 วัตถุประสงค์ข้อ 2-3 เป็นประโยชน์
                         หน้า 11 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เวลาน าเสนอดีมาก เป็นข้อๆ ชัดเจน แต่ที่เขียนในรายงานนี้น้อย
                   อาจารย์น่าจะน าเอาที่น าเสนอในวันนี้มาใส่เพิ่มเติมปรับถ้อยค า ท าให้บทที่ 1 สมบรูณ์ยิ่งขึ้นขึ้น


                         บทที่ 2 ว่าด้วยเนื้อหาของการวิจัย
                         หน้า 12  ปรับหัวข้อสิทธิมนุษยชน ตัวชี้วัดตัดความหมายออก และควรเพิ่มลักษณะตัวชี้วัดที่ดี  ซึ่งมี
                   ลักษณะคือ หนึ่ง ต้องมีความหมายตรงตามเนื้อหาแห่งสิทธิ สอง มีความเที่ยง หมายความว่าเก็บกี่ครั้งๆ

                   ข้อมูลก็ได้ใกล้เคียง มีความคงที่ สามารถที่จะน ามาใช้ได้ มีความเป็นปรนัย คนมาอ่านเข้าใจตรงกัน เก็บ
                   ข้อมูลได้จริง น่าจะอยู่ในส่วนที่ 2 ที่อาจารย์เสนอ ไปเติมว่าลักษณะตัวชี้วัดที่ดี

                         บทที่ 3 วิธีการด าเนินการ

                         หน้า 11 มีแผนภูมิด าเนินการวิจัย แต่อาจารย์น ามาไว้บทที่ 1 ควรขยับมาไว้บทที่ 3 อธิบายตาม
                   ขั้นตอนได้ อ่านจบไม่รู้ว่ารายงายเล่มนี้ใช้คนมาช่วยเท่าไหร่ ควรมีรายงานว่ามีการประชุมกี่ครั้ง แต่ละครั้งมี
                   ผู้เข้าร่วมประชุมเท่าไหร่ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ท าให้เกิดประโยชน์ เมื่อมีใครมาท าต่อ สามารถท าตาม
                   ขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอน ได้  น าข้อมูลจากบทที่ 1 มาบทที่ 3  ให้สอดคล้องสัมพันธ์ รายงานฉบับนี้เมื่ออ่าน

                   แล้วท าให้ทราบว่ามีสิทธิอะไรบ้าง

                         บทที่ 4 ตัวอย่างของต่างประเทศ
                         ให้ข้อมูลดี ท าให้เห็นว่าต่างประเทศท าอย่างไร มีตัวอย่างตัวชี้วัดโครงสร้าง กระบวนการ และ

                   ผลลัพธ์

                         บทที่ 5 ตัวชี้วัด

                         ที่เป็นส่วนส าคัญที่สุดของโครงการ  ซึ่งอาจารย์แบ่งเป็น A  –  โครงสร้าง  B  –  กระบวนการ  C  –
                   ผลลัพธ์ ผมอยากเสนอความเห็นเพิ่มเติมดังนี้
                         หน้า 103    ช่อง A  เกณฑ์ชี้วัดตัวชี้วัดโครงสร้าง มีค าว่าเกณฑ์ แต่ในบทที่ 2 ใช้ ค าว่า ตัวชี้วัด
                   โครงสร้าง ท าอย่างไรให้ค าที่ใช้คงที่ หน้า 21 อาจารย์ได้นิยายไว้ Structural Indicator ตัวชี้วัดโครงสร้าง
                   ในหน้า 103 ควรใช้ค าว่า ตัวชี้วัดโครงสร้าง แต่มีค าว่าเกณฑ์ เข้ามา มองว่ามีตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดย่อย มี

                   ตัวชี้วัดโครงสร้าง ตัวชี้วัดกระบวนการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์

                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 3
   413   414   415   416   417   418   419   420   421   422   423