Page 421 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 421

343


                         อาจารย์ สรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์
                         ทันทีหรือไม่ ไม่เป็นไรแต่ต้องมีการแสดงออกว่าจะยอมรับน ามาใช้เข้าไปในกฎหมาย


                         ดร.จาตุรงค์ บุญรัตนสุนทร (ความเห็นเพิ่มเติมในการเสนอความเห็นรอบสอง)

                         1. งานวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยต้องชัดเจน รัดกุม ขอบข่ายของการวิจัยต้องให้ความชัดเจนมากขึ้น
                   ตัวชี้วัดมีจ านวนมาก ถ้าขอบเขตชัดเจนว่าเป็นเรื่องตัวชี้วัดพื้นฐานอาจจะลดบางตัวลงได้ เพื่อท าให้ผลของ
                   การวิจัยคมชัดว่าสิ่งที่พัฒนาขึ้นมานั้นเป็นเรื่องพื้นฐาน  ส่วนรายละเอียดเฉพาะกลุ่มให้แยกออกไปต่างหาก
                   สรุป ระบุขอบข่ายของการวิจัยให้ชัดเจน
                         2. เห็นด้วยกับอาจารย์สมคิดและคุณอัจฉรา ที่กล่าวถึงในเชิงของแนวคิด concept  และบริบทของ

                   การวิจัยว่าจะใช้แนวคิด concept ตัวไหนเป็นการพัฒนาตัวชี้วัด ในตัวชี้วัดบางตัว ยังไม่ได้ระบุให้ครอบคลุม
                   ความเป็นจริงในสังคมไทย เช่น การศึกษา ที่อยู่อาศัย ไม่ใช่ดูแค่ข้อมูลจากหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านั้น
                   ตัวอย่างในหน้า 160 ที่อยู่อาศัย ช่อง C ตัวชี้วัดผล จ านวนที่อยู่อาศัยที่ด าเนินการโดยการเคหะแห่งชาติดูแล

                   จริงแล้วเรื่องที่อยู่อาศัยมีหลายหน่วยงานที่ดูแล เช่น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
                   (พม.) หรือสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) (พอช.) ที่ดูแลเรื่องบ้านมั่นคง ต้องไปดูข้อมูลใน
                   ส่วนนี้ด้วย
                         3. ข้อมูลมีความส าคัญตอบตัวชี้วัดและรายงานสะท้อนความเป็นจริงของสถานการณ์ของ

                   สิทธิมนุษยชนในสังคมไทยต้องถูกต้องชัดเจน (เพิ่มในข้อเสนอแนะข้อที่ 7) ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                   ต้องจัดระบบฐานข้อมูลให้สอดคล้องกับภารกิจที่ต้องรายงานเรื่องของการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรอบข้อมูล
                   3 แบบของอาจารย์อมรา ส าหรับข้อมูลที่ไม่มีจะท าอย่างไรให้มี หรือข้อมูลที่มีจากหน่วยงานเมื่อน ามาเขียน
                   รายงานไม่สามารถตอบโจทย์ได้ เพราะฉะนั้นต้องชี้ให้เห็นว่าข้อมูลไหนส าคัญที่ต้องมีในระบบฐานข้อมูล

                   คณะผู้ศึกษาไม่ได้เป็นผู้เก็บข้อมูล แต่คณะผู้ศึกษาต้องชี้ความจ าเป็นว่าเป็นความต้องการของข้อมูลแต่ไม่
                   ต้องไปเก็บข้อมูลเอง

                         ผศ.วิชัย ศรีรัตน์

                         เรื่องของสตรี เด็ก คนพิการ ชนกลุ่มน้อย เรื่องของคนพิการ เริ่มแรกเราท า ตอนหลังขอตัดออก จะ
                   อยู่ในอนุสัญญา ซึ่งจะข้อมูลจะลงลึกมาก เพราะฉะนั้นไม่สามารถที่จะลงไปดู อย่างเช่น งบประมาณของรัฐที่
                   จะจัดสรรให้กับโครงการส าหรับคนพิการ จ านวนโครงการใหม่ๆ ที่รัฐพัฒนาขึ้นส าหรับคนพิการ อัตรา drop
                   out  ของเด็กพิการกับคนที่เข้าเรียน หรือจ านวนโรงเรียนที่มีโครงการส าหรับคนพิการ ตอนหลังได้ตัดออก

                   หมด เพราะได้ข้อสรุปว่าจะท าเกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยคนพิการ เด็ก สตรี เป็นโครงการใหม่อีกฉบับหนึ่ง
                   เพราะฉะนั้นตรงนั้นจะเป็นข้อมูลที่เฉพาะกว่า อาจารย์จาตุรงค์ คงคิดเหมือนกันน่าจะอยู่ในอนุสัญญาเฉพาะ
                         ภาษาของกฎหมายสิทธิมนุษยชนเป็นภาษาที่ไม่เหมือนกัน แม้แต่ตัวปฏิญญาสากลแปลโดยกระทรวง
                   การต่างประเทศสองครั้งก็ไม่เหมือนกัน ผมท าโครงการศัพท์บัญญัติของสิทธิมนุษยชน เพราะฉะนั้นจะยึดถือ

                   ศัพท์ที่ใช้โดยกระทรวงการต่างประเทศเป็นหลัก ส าหรับ self  determination  หรืออย่างน้อยมี 4
                   ความหมาย อัตตาวินิจฉัย สิทธิในการก าหนดชะตากรรมตนเอง สิทธิในการก าหนดตนเอง เพื่อให้เกิดความ
                   เป็นกลางพยายามใช้ค าที่เป็นที่ยอมรับ จะใช้ตัวบทของกระทรวงการต่างประเทศ แต่มีหลายๆ ค าที่ไม่มีค า

                   แปลคณะผู้ศึกษาถือโอกาสแปลเอง ซึ่งมีค าอธิบายในข้อสรุป




                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 3
   416   417   418   419   420   421   422   423   424   425   426