Page 424 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 424

346


                         4. ปัญหาของศัพท์ (terminology) การใช้ค า Outcome เข้าใจว่า Outcome มาจาก Obligation
                            ทั้ง 3 ระดับในตัวของ General Comment บอกว่ารัฐมีพันธกรณีที่จะท าให้เกิด “Result” ก็คือ

                            ไม่ใช่เพียงแค่ท าๆ แต่มี Obligation ว่าจะท าให้เกิดผล ทีนี้ไปใช้ค าว่า Outcome เข้าใจว่ามาจาก
                            UN เหมือนกัน แต่ Outcome ในเชิงของการด าเนินการ (Implementation) มีอยู่ 3 ระดับ คือ
                            Output  –  Outcome  –  Impact  การไปให้ถึงสุดยอดจริงๆ สิ่งที่ควรให้เกิดคือ Impact
                            เพราะฉะนั้นการเกิด Outcome ท าให้เกิดการแก้ปัญหาได้ระดับหนึ่ง แต่การแก้ปัญหาโครงสร้าง

                            แล้วท าให้เกิด Impact จะเอาไหม ถ้าอย่างนั้น กสม. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะท าหรือไม่
                            เช่น มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายกองทุนยุติธรรม คือ การท าให้เกิดผลกระทบในเรื่องของ
                            โครงสร้างในการที่เหยื่อได้รับการคุ้มครอง อาจารย์ใช้เป็นกรณีพิจารณาประกอบได้


                         ผศ.วิชัย ศรีรัตน์
                         ยอมรับว่าในหน้า 16 จะมีการอธิบายเพิ่มเติม มีข้อสังเกต ไม่ว่าจะเป็น ICCPR และ ICESCR มีพันธะ
                   ในสามด้าน จะมีปรากฏอยู่ ยกตัวอย่าง สิทธิที่จะไม่ถูกละเมิด สิทธิในความมั่นคงในชีวิต ต้องใช้หน้าที่ในการ
                   protect  ต้องใช้ทรัพยากรจัดสรรงบประมาณ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้า สุดท้ายคือผลลัพธ์ เพราะฉะนั้น

                   เข้าใจว่าแนวคิดมาจากเรื่องของหน้าที่ที่ท าให้เกิดความก้าวหน้าเรื่อยๆ อยู่ใน IESCR  แต่เมื่อกรรมการสอง
                   ชุดมาประชุมเสร็จแล้วใช้ด้วยกัน ในปัจจุบันแนวคิดเรื่องของสิทธิมนุษยชน สิทธิทั้ง ICCPR  และ ICESCR
                   พันธะทั้งสามด้านใช้ได้

                         เข้าใจว่าในยุคแรกๆ เรากล่าวถึง Negative  กับ Positive  Obligation  มาตอนหลังไม่ค่อยกล่าวถึง
                   จึงไม่ได้แสดงความคิดเห็นเรื่อง Negative หรือ Positive Obligation แต่จะมาดูสิ่งที่เป็นปัจจุบันล่าสุดใน
                   แนวคิด อาจเป็นไปได้อาจเขียนเพื่อให้ได้เห็นพัฒนาการทางแนวคิดของ obligation  ของรัฐ จะน าไปเขียน
                   เพิ่มเติมในหน้า 16

                         เห็นด้วยในเรื่อง UDHR  ที่ว่าจะมีแนวคิดที่เป็นพลวัต คิดอะไรใหม่ๆ เพราะฉะนั้นต้องเขียนค าจ ากัด
                   ความ ข้อจ ากัดในการท าวิจัย ซึ่งตรงนั้นอาจจะต้องมีชุดอื่นที่มาท าในเรื่องของตัวชี้วัดตรงนั้น เป็นเรื่องที่
                   น่าสนใจและเป็นงานหนักพอสมควร


                         คุณอารีวรรณ จตุทอง  (กรรมการฝ่ายกฎหมายและสหภาพสตรี สภาสตรีแห่งชาติ)
                         ในส่วนของตาราง หน้า 106 ตาราง C ช่อง 5 สัดส่วนของสตรีฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ
                   ท าไมถึงไปอยู่ในตัวชี้วัด 1.3 เรื่องของการมีสิทธิออกเสียงเลือกผู้แทน ซึ่งน่าจะอยู่ 1.2 ในเรื่องของการมีส่วน
                   ในการก าหนดนโยบายหรือแผนเกี่ยวกับการบริหารจัดการสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่ง

                   เข้าใจว่าน่าจะพูดถึงเรื่องของการที่เปิดโอกาสให้ทั้งหญิงและชายเข้าไปมีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบาย
                   หรือว่าการมีที่นั่งในส่วนของฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ ซี่งก็สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 87
                   ด้วย ซึ่งสัดส่วนผู้หญิงในจ านวนของสมาชิกสภานิติบัญญัติ หรือต าแหน่งในคณะรัฐมนตรี รวมไปถึงในเรื่อง

                   ของกรรมาธิการรัฐสภาด้วย รวมถึงเรื่องการเมืองท้องถิ่น ตั้งข้อสังเกตไว้ว่ามีประเด็นที่สลับที่กันหรือไม่
                         ประเด็นที่สลับที่กันในหน้าที่ 118  เรื่องของจ านวนคดีที่สตรีร้องเรียนว่าถูกท าร้ายร่างกายโดยสามี
                   หรือบุคคลในครอบครัวหรือที่อยู่กินฉันท์สามีภรรยา ไปอยู่ในตัวชี้วัดที่ 2.7  เป็นเรื่องของการปลอดจาก
                   อาชญากรรมรุนแรงที่คุกคามสวัสดิภาพความปลอดภัยของบุคคล น่าจะไปอยู่ในส่วนของที่เกี่ยวข้องกับ
                   ประเด็นของครอบครัว ซึ่งน่าจะเป็นตัวชี้วัดที่ 4 เป็นสิทธิเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ครอบครัว และชื่อเสียง

                   หรือไม่

                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 3
   419   420   421   422   423   424   425   426   427   428   429