Page 416 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 416
338
จากรายงานที่ออกมาใช้กระบวนการมีส่วนร่วมค่อนข้างมาก และมีการระดมความคิดเห็นสามครั้ง
รวมทั้งครั้งนี้ มีกลุ่มที่มีส่วนเกี่ยวข้องมามีส่วนร่วม (Stakeholders) ให้ input จากการเปิดเวทีรับฟังมีส่วน
ช่วยอาจารย์ได้มาก เรื่องของวิธีการวิจัยจะไม่ออกความคิดเห็นมาก มาดูในรายละเอียดที่อาจารย์ได้
พัฒนาขึ้นมาจากกระบวนการที่ได้ท า เพื่อพัฒนาตัวชี้วัด ซึ่งอยู่ตั้งแต่หน้าที่ 102 เป็นต้นไป โดยแยกเป็น
ด้านๆ ไป จะมีห้ากลุ่มตัวชี้วัด ผมขอวิจารณ์รายงานเป็นล าดับดังนี้
1. การใช้ถ้อยค า
การแปลความหมายจากภาษาอังกฤษมาเป็นภาษาไทย อ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ แต่ถ้าอ่าน
ภาษาอังกฤษจะชัดเจน เมื่อแปลเป็นภาษาไทยแล้วอาจารย์หมายถึงอะไร ควรหาค ามาตรฐานที่ใช้และเข้าใจ
ได้ง่าย เช่น หน้า 102 ค าว่า กลุ่มตัวชี้วัดที่ 1 สิทธิในการก าหนดเจตจ านงตนเอง น่าจะมาจาก Self
determination หรือลัทธิอัตวิสัย ค านี้มีการใช้กันมานานแล้ว ซึ่งอาจเป็นภาษาสันสกฤตที่เข้าใจยาก แต่
เป็นค าที่คนเข้าใจ แต่พออาจารย์พยายามที่จะใช้ค าง่ายๆ ต้องมานึกว่าอาจารย์หมายถึงอะไร ลักษณะในการ
แปลความมีอยู่มากในรายงานนี้ ขอให้ทบทวนการใช้ถ้อยค า การแปลจากภาษาอังกฤษมาเป็นภาษาไทยให้
เข้าใจมากขึ้น
2. การพัฒนาตัวชี้วัด
หน้า 102 เป็นต้นไป เรื่องตัวชี้วัดที่พยายามพัฒนาขึ้นสามช่อง คือ มี 1. เกณฑ์ตัวชี้วัดโครงสร้าง
ตามบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลสามประการ 2. เกณฑ์ตัวชี้วัดกระบวนการ 3. เกณฑ์ตัวชี้วัดผล ตัวชี้วัดที่ดี
ต้องน าไปใช้ได้จริง ต้องมีที่มาจากสาระแห่งสิทธิตามที่อาจารย์ทบทวนมา แต่เมื่อพัฒนามาเป็นตัวชี้วัดแล้ว
อาจมีค าถามคือตัวชี้วัดนั้นน าไปใช้ได้จริงหรือไม่ หาข้อมูลมาต่อตัวชี้วัดได้ไหม ซึ่งอาจจะเป็นตัวชี้วัดที่ดี แต่
หาข้อมูลมาต่อตัวชี้วัดไม่ได้ ก็จะน าไปใช้อะไรไม่ได้ ต้องก าหนดขึ้นมาเป็นเกณฑ์ ต้องทบทวนว่าสามารถ
น าไปใช้ได้จริงหรือไม่ หาข้อมูลมาต่อได้จริงไหม
ในการพัฒนาตัวชี้วัด เริ่มจากตัวชี้วัดโครงสร้าง กฎหมายการเข้าเป็นภาคีของอนุสัญญาหรือ
ปฏิญญาต่างๆ ควรดูว่าประเทศไทยได้มีกฎหมายรองรับการเข้าไปเป็นภาคีของปฏิญญาหรืออนุสัญญา ใน
แต่ละฉบับหรือไม่ ซึ่งไทยเป็นภาคีอนุสัญญา 7 ฉบับ บางฉบับบางเรื่องยังไม่มีกฎหมายรองรับ จะน าไปสู่
ปัญหาในการปฏิบัติ หรือท าไม่ได้ ควรจะลงลึกในประเด็นนี้จะเกิดประโยชน์
ตัวชี้วัดที่พัฒนาบางตัวให้ชัดเจนขึ้น ในหน้า 103 มีรัฐธรรมนูญระบุให้มีการท าข้อตกลงระหว่าง
ประเทศ ตรงนี้ควรระบุว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับไหนเข้าใจว่า พ.ศ. 2550 เราเพิ่งมีรัฐธรรมนูญที่ก าหนดว่าให้
รัฐในการท าข้อตกลงระหว่างประเทศต้องผ่านสภา ควรระบุเพิ่ม
เกณฑ์ตัวชี้วัดผลช่อง C สอดคล้องกับเกณฑ์ตัวชี้วัดโครงสร้าง ข้อที่ 1 คือ จ านวนค าร้องเรียน
ค าฟ้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการท าสนธิสัญญาที่มีผลต่ออธิปไตยของรัฐได้รับความเห็นชอบจาก
รัฐสภา จะเข้าประเด็นเป็นเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ดีในเรื่องนี้ว่าจะหาข้อมูลได้จริงขนาดไหน จากค าร้องเรียนต่อศาล
อาจมีบันทึกที่มาตอบเกณฑ์ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ดีขึ้นอยู่กับสถานการณ์ หากรัฐธรรมนูญมีการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงร่างใหม่ บทบัญญัติข้อนี้ยังอยู่หรือไม่ เพราะฉะนั้นตัวชี้วัดในลักษณะนี้ค่อนข้างเปลี่ยนแปลงได้
ง่าย ค าถามมีว่ายังเอาตัวชี้วัดที่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคตให้อยู่ในตัวชี้วัดของเราหรือไม่
ตัวชี้วัดที่ดี หน้า 105 ข้อ 2 สัดส่วนของงบประมาณที่จัดสรรให้กับกระทรวงหรือหน่วยงานที่เน้น
การพัฒนาคุณภาพของประชาชน เช่น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) หรือ
กระทรวงสาธารณสุขก็ต้องมี ต้องไปดูว่ามีการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
หรือไม่ ตัวชี้วัดนี้ต้องคงไว้
รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 3