Page 355 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 355

277


                   ประเภทตัวชี้วัด

                      •  มีความสัมพันธ์กับพันธะหน้าที่ OHCHR  แบ่ง Indicator เป็น 3 ประเภท
                      •  ตัวชี้วัดโครงสร้าง – Infrastructure  ของการเคารพ หรือเจตจํานงที่จะเคารพ “สิทธิ” คือการเป็น
                         ภาคีข้อตกลงระหว่างประเทศ และการรับรองสิทธิไว้ในระบบกฎหมายของรัฐ
                      •  ตัวชี้วัดกระบวนการ –สะท้อนหน้าที่ในการปกปูองคุ้มครอง รัฐจัดให้มีมาตรการต่างๆ เพื่อการ

                         ปกปูองสิทธิของบุคคล ด้านนโยบาย การบริหาร ด้านการสร้างจิตสํานึก อบรมบุคคลากร การเงิน
                         งบประมาณ ความร่วมมือระหว่างประเทศ
                      •  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ – ผลที่เกิดขึ้นจริง ของการกระทําสะท้อนหน้าที่ในการ ”ทําให้เป็นจริง”


                   ขั้นตอนด าเนินการ
                      •  ขั้นตอนที่หนึ่ง  -   พิจารณาพันธะหน้าที่ของรัฐ

                      •  ขั้นตอนที่สอง  -   พิจารณาองค์ประกอบที่เป็นสาระแห่งสิทธิ
                      •  ขั้นตอนที่สาม  -   กําหนดตัวชี้วัด สามประเภท
                      •  ขั้นตอนที่สี่  -   กําหนดที่มาของหลักฐาน หรือสร้างกระบวนการรายงาน (ขั้นตอนที่สี่ไม่ได้

                                       ดําเนินการในการวิจัยครั้งนี้)

                   สุดท้าย ตัวชี้วัดจะน าไปสู่การ...

                      •  “เปลี่ยนมุมมองการจาก “เยียวยาการละเมิด” เป็น “การปูองกันการละเมิด”
                      •  “เปลี่ยนจากระบบ “รายงานโดยที่มีลักษณะเป็นนามธรรม เชิงคุณภาพ และอัตตาวินิจฉัย”  มาเป็น
                         “การใช้การรายงานที่เป็นระบบ มีข้อมูลหลักฐานอ้างอิงที่จัดเก็บโดยเจ้าของข้อมูล และอยู่บนฐาน

                         แห่งสิทธิ”

                   แต่สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ
                      •  กสม. ต้องออกแบบ “ระบบการรายงาน” และ “ระบบการจัดเก็บ” เพื่อประโยชน์ในการประเมิน

                      •  อาจต้องมีบุคคลากรที่รับผิดชอบ ติดตาม
                      •  มีระบบการติดตามการเพื่อให้มีการรายงานข้อมูลเกิดขึ้นจริง และต้องมีการ “ทบทวน” ตัวชี้วัดอย่าง
                         สม่ําเสมอ


                      3.2  น าเสนอ “การพัฒนาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนระดับระหว่างประเทศ และการพัฒนาตัวชี้วัดของ
                   ต่างประเทศ กรณีศึกษาของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์”
                         นําเสนอโดย นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์ ผู้ศึกษา


                         นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์ (คณะผู้ศึกษา) -  กราบเรียนศาสตราจารย์ ดร. อมรา พงศาพิชญ์
                   ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ ผมชื่อ บุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์  เป็น

                   ผู้อํานวยการของศูนย์ข้อมูลสิทธิมนุษยชน และได้รับการทาบทามจาก ผศ. วิชัย จากศูนย์กฎหมาย
                   สิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มาช่วยเป็นหนึ่งใน
                   ทีมงานที่ช่วยทําศึกษาวิจัยตรงนี้ วันนี้ผมจะมาแบ่งปันประสบการณ์เล็กๆ น้อยๆ นะครับ ในกรณีศึกษาจาก


                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 2
   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359   360