Page 354 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 354

276


                   ประโยชน์ของการมีตัวชี้วัด

                      •  “ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน” เครื่องมือสอดส่องการดําเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับพันธะ
                         หน้าที่ในการส่งเสริม ปกปูองคุ้มครอง และทําให้สิทธิมนุษยชนเป็นจริงขึ้น
                      •  เครื่องชี้ทางในการกําหนดนโยบาย แผน และการปฏิบัติของหน่วยงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับ
                         หลักการ และปทัสถานสิทธิมนุษยชน

                      •  ช่วยให้มีกรอบในการจัดทํารายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนระหว่าง
                         ประเทศชัดเจนยิ่งขึ้น


                   “สิทธิในชีวิต”
                      •  คืออะไร ขอบเขตแค่ไหน พันธะหน้าที่ของรัฐมีอย่างไร ต่อ ”สิทธิในชีวิต”
                      •  องค์ประกอบที่เป็นสาระแห่งสิทธิ

                      •  “ไม่ถูกพรากชีวิตโดยรัฐ”
                      •  “ไม่ถูกบุคคลอื่นฆ่าตาย”
                      •  “ไม่ถูกทําให้หายตัวโดยการใช้กําลังบังคับ”

                      •  “มีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวยต่อการมีชีวิต

                   ประเภทของข้อมูล

                      •  ข้อมูล นั้นอาจเป็นข้อมูล ที่เป็นตัวเลข สถิติ หรือข้อมูลเชิงคุณภาพ (พรรณนา)
                      •  มีบุคคลที่เสียชีวิตในขณะบังคับใช้กฎหมายกี่คน/ตายในขณะอยู่ในเรือนจํา ห้องขังกี่คน –  ชี้ถึงการ
                         “พรากชีวิตโดยรัฐ”

                      •  มีคนตายจากคดีอาญากี่คน/สัดส่วนคดีที่เกิดขึ้นกับการดําเนินคดีผู้กระทําผิด –  ชี้ถึงการพรากชีวิต
                         โดยบุคคลที่สาม
                      •  มีพยานปากเอก นักเคลื่อนไหวต่อต้านอํานาจรัฐ หรือต่อต้านกลุ่มอิทธิพล “ถูกอุ้มหาย” กี่คน – ชี้ถึง

                         การทําให้หายตัว
                      •  มีเด็กทารกตายระหว่างแรกเกิดถึงอายุหนึ่งเดือน กี่คน/มีคนตายจากอุบัติเหตุสารเคมีรั่วไหล รถแก๊ส
                         ระเบิด/ถชนคนตาย กี่คน – ชี้ถึงสภาพแวดล้อม


                   พันธะหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศ
                      •  เคารพ – สะท้อนออกมาในรูปแบบการรับรองสิทธินั้นๆ แสดงว่ารัฐมี “เจตจํานง”
                      •  ปกปูองคุ้มครอง – เป็นการกระทําการเพื่อให้บรรลุเจตจํานงที่มี เพื่อให้สิทธินั้นเป็นจริง – โดยใช้

                         มาตรการด้านต่างๆ
                      •  ทําให้เป็นจริง – การเกิดขึ้นจริง ดูที่ผลลัพธ์ ซึ่งบางที รัฐมีมาตรการต่างๆ มากมาย แต่ผลไม่เกิด ถือ
                         ว่าไม่บรรลุพันธะหน้าที่







                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 2
   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359