Page 62 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 62
51
(1) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะหลบหนี
(2) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน
(3) ผู้ต้องหาหรือจ าเลยจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น
(4) ผู้ร้องขอประกันหรือหลักประกันไม่น่าเชื่อถือ
(5) การปล่อยชั่วคราวจะเป็นอุปสรรคหรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
การสอบสวนของเจ้าพนักงานหรือการด าเนินคดีในศาล
ค าสั่งไม่ให้ปล่อยชั่วคราวต้องแสดงเหตุผลและต้องแจ้งเหตุดังกล่าว
ให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยและผู้ที่ยื่นค าร้องขอให้ปล่อยชั่วคราวทราบเป็นหนังสือโดยเร็ว”
จากหลักเกณฑ์การคุ้มครองสิทธิที่จะได้รับการปล่อยชั่วคราวขั้นต้น
การปล่อยตัวชั่วคราวจึงไม่ใช่เรื่องของความกรุณาของผู้ใช้อ านาจรัฐ หากแต่เป็นสิทธิพื้นฐานของ
ผู้ถูกกล่าวหาที่มีอยู่แล้ว ดังหลักการที่กล่าวข้างต้นว่าการปล่อยชั่วคราวถือเป็นหลัก ส่วนการ
ไม่ปล่อยชั่วคราวโดยยังคุมขังต่อไปนั้นเป็นเพียงข้อยกเว้น
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ
จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง สาเหตุของพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่
ที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของเจ้าหน้าที่ต ารวจนั้น หรือไม่ปฏิบัติตามกฏหมายหรือหลักสิทธิ
มนุษยชนนั้น ไม่ปรากฏว่ามีการศึกษามาก่อน แต่พบว่ามีการศึกษาของ พ .ต.ท.ดร.เกษมศานต์
โชติชาครพันธุ์ (2553) ซึ่งอาจสามารถมาเทียบเคียงกับ พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ โดยค าอธิบายพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ต ารวจที่ประพฤติโดยมิชอบ ว่าสามารถ
แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
1) การทุจริตคอรัปชั่น (police corruption) ซึ่งเป็นพฤติกรรมของต ารวจที่ได้กระท า
ในสิ่งที่ไม่ควรจะ กระท า หรือ ละเว้นการกระท าในสิ่งที่ควรจะกระท า โดยการกระท านั้นเกี่ยวข้อง
กับต าแหน่ง หรือ อ านาจ หน้าที่ที่มีตามกฎหมายของต ารวจนั้น และ ต ารวจผู้นั้นได้รับหรือคาดหวัง
ว่าจะได้รับการตอบแทนหรือมี สิ่งจูงใจที่มีมูลค่าเป็นการส่วนตัว อาจจะอยู่ในรูปเงินตรา หรือการเลื่อน
ขั้นเลื่อนต าแหน่ง ส่วนการแสดงออกของการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตมีหลากหลายรูปแบบ เช่น
การใช้ต าแหน่งหน้าที่แสวงหา ผลประโยชน์ (corruption of authority) การรับเงินสินบน หรือ
เงินใต้โต๊ะ (kickback) การลักทรัพย์เมื่อมี โอกาส (opportunistic theft) การกรรโชกทรัพย์ หรือ
รีดไถ (shakedown) การเรียกค่าคุ้มครองผู้กระท า ความผิดกฎหมาย (protection of illegal activities)
การบิดเบือนการใช้ดุลยพินิจในการสืบสวนสอบสวน คดีอาญา (the fix) และ การกระท าผิดอาญา