Page 36 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 36

25


                      ออกหมายค้นในที่รโหฐาน ซึ่งเป็นหลักประกันในการได้รับการคุ้มครองสิทธิจากการปฏิบัติหน้าที่

                      ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการทางกฎหมายของต่างประเทศ


                                       2.3.3.2  มาตรการในการจับกุม คุมขัง

                                                 การจับกุม คุมขังบุคคล เป็นมาตรการของเจ้าหน้าที่ต ารวจในการ
                      รักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยเป็นการน าตัวบุคคลที่สงสัยว่ากระท าความผิดมาไว้ใน

                      อ านาจควบคุมของรัฐ ซึ่งถือว่ามีผลกระทบต่อสิทธิของบุคคลอย่างร้ายแรง เพราะเป็นการท าให้

                      บุคคลนั้นสูญสิ้นอิสรภาพและมีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่  ครอบครัวและชื่อเสียงของบุคคลนั้น

                      การจับกุม คุมขัง ในทางสากลมีการวางหลักเกณฑ์ตาม ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
                      (The Universal Declaration of Human Rights) ข้อ 9 และตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ

                      พลเมืองและสิทธิทางการเมือง (  International Covenant on Civil and Political Rights)  ข้อ 9

                      ในส่วนที่เกี่ยวข้องที่ได้กล่าวแล้ว

                                                “ตามหลักการขององค์การสหประชาชาติเพื่อการคุ้มครองบุคคล
                      ทุกคนที่ถูกคุมขังหรือจ าคุก” (  Body of Principle for the Protection of All Persons under Any

                      Form of Detention or Imprisonment 1988)

                                                “ข้อ 11 ได้ก าหนดไว้สรุปความได้ว่า บุคคลจะถูกคุมขังโดยปราศจาก

                      การไต่สวนของศาลหรือองค์กรอื่นนั้นไม่ได้ ศาลหรือองค์กรพึงมีอ านาจหน้าที่ในการทบทวนหรือ

                      ตรวจสอบความชอบด้วยเหตุผลในการจะคุมขังผู้นั้น ต่อไป “
                                                “ข้อ  36 ก าหนดไว้สรุปความได้ว่า การจับกุมหรือคุมขังบุคคล

                      ในระหว่างการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีนั้น จะกระท าได้ต่อเมื่อเป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งความ

                      ยุติธรรมและต้องกระท าภายใต้เงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายก าหนดเท่านั้น การ ออกค าสั่งจ ากัด

                      อิสรภาพของบุคคลโดยที่มิได้เป็นไปเพื่อป้องกันการขัดขวางกระบวนการยุติธรรมหรือเพื่อรักษา

                      ความปลอดภัยหรือความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่คุมขังนั้นแล้วจะกระท ามิได้”
                                                “ข้อ 37 ก าหนดไว้สรุปความได้ว่า”ผู้ที่ถูกคุมขังในระหว่างการด าเนิน

                      คดีอาญานั้นจะต้องถูกน าตัวไปยังศาลหรือองค์กรอื่นตามที่กฎหมายก าหนดในทันทีที่จะกระท าได้

                      นับแต่เวลาที่ถูกจับกุม ทั้งนี้เพื่อจะได้มีการตรวจสอบและวินิจฉัยว่าการควบคุมตัวผู้นั้นเป็นการชอบ
                      หรือจ าเป็นหรือไม่ การคุมขังบุคคลใดในระหว่างการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีนั้นจะกระท า

                      ไม่ได้เว้นแต่มีหมายคุมขังที่ออกโดยชอบขององค์กรที่ออกค าสั่งคุมขังนั้น ผู้ที่ถูกคุมขังดังกล่าวมีสิทธิ

                      ที่จะท าหนังสือระบุถึงสิ่งที่เขาได้รับการปฏิบัติในระหว่างที่ถูกคุมขังให้องค์กรที่ตรวจสอบความถูกต้อง

                      ของการคุมขังดังกล่าวนั้นได้ทราบข้อเท็จจริงด้วย ”  โดยตามข้อ 32 ก าหนดไว้สรุปความได้ว่า  “ผู้ที่
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41