Page 28 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 28

๒๔





                       ของการกระทําขององคกรของรัฐและขอใหเพิกถอนการกระทํานั้นเสียหรือขอใหไมใชการกระทํานั้น
                       บังคับแกกรณีของตนหรือขอใหบังคับใหฝายปกครองชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนแลวแตกรณี

                       ในกรณีที่ศาลเห็นวาการกระทํานั้นไมชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น ในรัฐที่ปกครองโดยหลักนิติรัฐ

                       กฎหมายจึงเปนทั้ง “แหลงที่มา (source)” และ “ขอจํากัด (limitation)” อํานาจกระทําการตางๆ ของ
                       รัฐและองคกรของรัฐ ดวยเหตุนี้  จึงมีผูกลาววา “ในรัฐเสรีประชาธิปไตยนั้น ผูปกครองที่แทจริงคือ

                                                                         ๖๘
                       กฎหมายไมใชมนุษย (Government of laws, not of men)”
                                     ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันทั่วไปในระบบกฎหมายเยอรมันวา หลักนิติรัฐมี
                       องคประกอบที่สําคัญสองสวนคือ องคประกอบในทางรูปแบบและองคประกอบในทางเนื้อหา
                              ๖๙
                       กลาวคือ

                                     องคประกอบในทางรูปแบบ คือ การที่รัฐผูกพันตนเองไวกับกฎหมายที่องคกรของรัฐ
                       ตราขึ้นตามกระบวนการที่รัฐธรรมนูญกําหนดขึ้นหรือที่รัฐธรรมนูญมอบอํานาจไว ทั้งนี้ เพื่อจํากัด

                       อํานาจของรัฐลง และเมื่อพิจารณาในทางรูปแบบแลวจะเห็นไดวาหลักนิติรัฐมุงประกันความมั่นคง
                       แนนอนแหงนิติฐานะของบุคคล องคประกอบในทางเนื้อหาประกอบไปดวยหลักการยอยๆ

                       หลายประการที่สําคัญ ไดแก หลักการแบงแยกอํานาจ หลักความชอบดวยกฎหมายของการกระทํา

                       ขององคกรของรัฐ หลักการประกันสิทธิในกระบวนพิจารณาคดี ตลอดจนหลักการประกันสิทธิของ
                       ปจเจกบุคคลในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม

                                     องคประกอบในทางเนื้อหา คือ การที่รัฐประกันสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของราษฎร
                       โดยกําหนดใหบทบัญญัติวาดวยสิทธิเสรีภาพมีคาบังคับในระดับรัฐธรรมนูญคือ มีคาบังคับในระดับ

                       สูงสุด ผูกพันอํานาจมหาชนของรัฐทุกอํานาจใหตองเคารพและเรียกรองใหรัฐตองกระทําการโดย

                       ยุติธรรมและถูกตองและเมื่อพิจารณาในทางเนื้อหาแลวนิติรัฐจึงมุงตรงไปยังการรักษาความยุติธรรมใน
                       รัฐเอาไวในแงนี้ เราจึงอาจกลาวไดวา นิติรัฐมีลักษณะเปน “ยุติธรรมรัฐ” (Gerechtigkeitsstaat) และ

                       องคประกอบในทางเนื้อหาของหลักนิติรัฐประกอบดวยหลักการยอย ดังนี้ หลักการคุมครองความไว

                       เนื้อเชื่อใจที่บุคคลมีตอระบบกฎหมาย หลักการกําหนดใหสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลมีคาบังคับ
                       ทางกฎหมายในระดับรัฐธรรมนูญและหลักความพอสมควรแกเหตุ

                                     จากที่กลาวมาขางตนจึงอาจสรุปไดวา “หลักนิติรัฐ” เปนหลักที่มีความมุงหมายหรือ
                       วัตถุประสงคสุดทาย (Ultimate aim) อยูที่การคุมครองสิทธิและเสรีภาพของปจเจกบุคคลจากการใช

                       อํานาจตามอําเภอใจของรัฐ (Arbitrarily) ในสภาพการณที่รัฐมีขอจํากัด ถูกผูกพันตอกฎหมายรวมทั้ง
                                                                                         ๗๐
                       ถูกควบคุมตรวจสอบโดยองคกรตุลาการไดซึ่งมีหลักการที่เปนสาระสําคัญดังนี้คือ บรรดาการกระทํา




                              ๖๘
                                วรพจน  วิศรุตพิชญ,อางแลว  เชิงอรรถที่ ๖๐, น. ๗๐.
                              ๖๙
                                วรเจตน  ภาคีรัตน, อางแลว  เชิงอรรถที่ ๕๗
                              ๗๐
                                วรพจน  วิศรุตพิชญ, อางแลว  เชิงอรรถที่ ๖๐, น. ๖ - ๗.
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33