Page 24 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 24

๒๐





                       โดยสมบูรณไมมีขอจํากัด มนุษยทุกคนจึงมีความเทาเทียมกัน และดวยความที่มนุษยมีธรรมชาติที่ดี
                       คือ เปนคนดีมีเหตุผล มนุษยจึงใชเหตุผลที่มีทําความเขาใจกฎหมายธรรมชาติไดและทําใหมนุษยรูจัก

                       เคารพความเสมอภาคและเสรีภาพซึ่งกันและกัน คือ รูวาแตละคนไมควรลวงละเมิดชีวิต รางกาย

                       เสรีภาพและทรัพยสินของกันและกัน แตเนื่องจากความเทาเทียมกันและมีเสรีภาพของมนุษยแตละคน
                       โดยไมจํากัดดังกลาว ทําใหมีการลวงละเมิดหรือกระทบกระทั่งสิทธิของผูอื่นอยูเสมอๆ และมนุษย

                       แตละคนก็มีอํานาจที่จะบังคับการใหเปนไปตามสิทธิที่ตนมีตามธรรมชาติและลงโทษผูกระทําความผิด

                       ดวยกําลังของตนเอง  ทําใหการมีชีวิตอยูในสภาวะธรรมชาติเชนนี้ขาดความแนนอนชัดเจน
                       ไมมีหลักประกันและไมมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตรางกาย เสรีภาพ และทรัพยสินที่แตละคนมีตาม

                       ธรรมชาติ ดังนั้น เพื่อความมั่นคงปลอดภัย ยุติปญหาความขัดแยงและความไมสงบเรียบรอยตางๆ

                       ที่มีอยูในสภาวะธรรมชาติ มนุษยจึงตกลงเขาทําสัญญาอยูรวมกันเปนสังคมและจัดตั้งรัฐบาลขึ้นทํา
                       หนาที่ปกครอง รักษาความสงบเรียบรอยและอํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้นในสังคมที่เรียกวาสัญญา

                       ประชาคม (Social Contract)
                                                                                 ๕๖
                                     สัญญาประชาคม (Social Contract) ของ John Locke  เปนสัญญาประชาคมแบบ
                       สัญญาสหภาพ กลาวคือ เปนสัญญาที่ประชาชนแตละคนตกลงโอนอํานาจบางสวนของตนซึ่งไดแก

                       อํานาจบังคับการตามกฎหมายธรรมชาติใหแกรัฐบาลหรือรัฐซึ่งไดจัดตั้งขึ้นตามสัญญาแตทุกคนยังคง
                       สงวนสิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพยสินอันเปนสิทธิขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษยไว ดังนั้น

                       รัฐที่จัดตั้งขึ้นตามสัญญาประชาคมตามแนวคิดของ John Locke จึงมีอํานาจจํากัดเฉพาะรักษาความ
                       สงบเรียบรอยและอํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้นในสังคมเทานั้น ทั้งนี้ เพื่อธํารงรักษาไวซึ่งสิทธิในชีวิต

                       เสรีภาพ และทรัพยสินของประชาชน และรัฐก็ไมสามารถใชอํานาจไปทําลายหรือลวงละเมิดสิทธิ

                       เหลานี้ได เพราะสิทธิเหลานั้นเปนสิทธิตามธรรมชาติของมนุษยที่ติดอยูกับความเปนมนุษย จึงไมอาจ
                       ถูกพรากและจําหนายจายโอนใหแกกันได และเมื่อใดที่รัฐใชอํานาจไปทําลายหรือลวงละเมิดสิทธิ

                       ดังกลาว ถือวารัฐไดทําผิดเงื่อนไขที่ตกลงไวในสัญญาประชาคมหรือเปนการฝาฝนความไววางใจของ

                       ประชาชนตามสัญญาซึ่งถือเปนเงื่อนไขสําคัญแหงการมีอํานาจของรัฐ ประชาชนยอมมีสิทธิอันชอบ
                       ธรรมที่จะปฏิวัติลมลางผูปกครองที่ผิดสัญญานั้นได

                                     จากแนวคิดเรื่องสัญญาประชาคมของ John Locke  ดังกลาว จะเห็นวา Locke
                       ไดยอมรับวาในสภาวะตามธรรมชาติของมนุษยมีสิทธิบางอยางที่ติดอยูกับความเปนมนุษยทุกคน

                       มาแตกําเนิดที่เรียกวา “สิทธิธรรมชาติ” คือ สิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพยสิน ที่ไมมีผูใดจะ

                       พรากหรือจําหนายจายโอนสิทธิดังกลาวไปจากมนุษยหรือโอนใหแกกันได แมกระทั่งรัฐหรือผูปกครอง
                       เองก็ไมอาจใชอํานาจลวงล้ําหรือทําลายสิทธิดังกลาวของประชาชนได และเปนหนาที่ของรัฐ

                       หรือผูปกครองที่จะตองธํารงรักษาไวซึ่งสิทธิธรรมชาติของมนุษยไมใหมีการลวงล้ําสิทธิดังกลาว



                              ๕๖
                                สมยศ  เชื้อไทย, อางแลว เชิงอรรถที่ ๓๗, น. ๑๐๑ – ๑๐๒.
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29