Page 70 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 70

คือ การปลดคนงาน แตสิ่งที่เกิดขึ้นในเรือประมงที่อยูกลางทะเลคือการปลอยใหอดตาย ไมมีระบบดูแล
                 ที่ดีเพราะคนเหลานี้ไมมีประโยชนไมมีงานใหทำนายจางก็ไมมีกำไรและยังอาจจะขาดทุนดวย นี่คือ
                 ความคิดหลัก เหตุการณนี้ยังมีเรื่องที่ใหเรารวมกันคิดตอวา เราจะทำอยางไรตออุตสาหกรรมประเภทนี้

                 อุตสาหกรรมที่มีขาวการประกอบอาชญากรรม  อยูเรื่อยๆ และผูที่ตกเปนเหยื่ออยูเสมอๆ ก็คือลูกจาง
                 รัฐบาลจะมีนโยบายอะไรออกมาบาง เพื่อจะปกปองคนงานประมงทั้งที่เปนคนไทยและคนตางชาติ เรา

                 จะปลอยใหเปนแบบนี้ไมได เพราะชีวิตคนมีคามากกวาผักปลา”


                 ขอมูลจาก : www.prachathai.com “ชีวิตคนแคผักปลา... การเสียชีวิตของลูกเรือประมงนอกนานน้ำทะเลไทย” “ลูกเรือประภาสนาวีฟองศาลแรงงานแลว”.
                 www.lpnrights.org “เรื่องเลาจากผูรอดชีวิตจากเรือประมงไทย (1)” โดย วิทยากร บุญเรือง. เครือขายสงเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน (Labour Rights Promotion Network) :: LPN

                 เนื้อหาสำหรับวิทยากรและผูเขารวมอบรม


                 สิทธิแรงงาน หมายถึงอะไร
                        สิทธิแรงงาน หมายถึง “สิทธิขั้นพื้นฐานที่แรงงานจะตองไดรับเมื่อทำงาน คือ ทำงานที่ปลอดภัย
                 มีชีวิตอยูในที่ที่ปลอดภัย สะอาด ไมแออัด มีอาหารและน้ำดื่มที่สะอาด มีคุณภาพ ไดรับคาตอบแทนที่
                 เปนธรรม การปฏิบัติที่เทาเทียมกันทั้งชายและหญิง ไมถูกบังคับใชแรงงาน ไมถูกทรมาน ไมถูกทำราย

                 ไมถูกหนวงเหนี่ยวกักขัง แรงงานเด็กตองไดรับความคุมครอง ไดรับขอมูลขาวสารและเขาถึงบริการ
                 ดานสุขภาพ และไดรับการคุมครองทางสังคมโดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีและคุณคาของความเปนมนุษย”
                                                                                                        1
                 สิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงานคืออะไร
                        สิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงานที่ไดรับการรับรองระดับสากล ในประกาศปฏิญญาสากลวาดวย

                 หลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงาน    ของรัฐสมาชิกขององคการแรงงานระหวางประเทศ ในป
                                                      2
                 พ.ศ. 2541 เพื่อสงเสริมการประกันสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงานในทุกประเทศ มีสาระสำคัญ 4 ประการ คือ
                        •  การขจัดการใชแรงงานบังคับหรือแรงงานที่ไมสมัครใจทุกรูปแบบ
                        •  การยุติการใชแรงงานเด็ก

                        •  การขจัดการเลือกปฏิบัติในการจางงานและการประกอบอาชีพ
                        •  การมีเสรีภาพในการสมาคม และการมีสิทธิในการเจรจาตอรองรวมกัน

                 เมื่อเขามาทำงานในประเทศไทยแลว ทำอยางไรใหทำงานอยางถูกกฎหมาย
                        แรงงานขามชาติมีสิทธิทำงานได 2 แบบ คือ แบบมีหนังสือเดินทางหรือไดรับอนุญาตใหอยูได

                 ชั่วคราว ในกรณีแรงงานจากลาวและกัมพูชาไดพิสูจนสัญชาติ และไดรับหนังสือเดินทางและวีซาแลว
                 ถือวาอยูในประเทศไทยได 2 ป และแบบที่ไมไดพิสูจนสัญชาติ ไดแกแรงงานพมา ลาว และกัมพูชา


                 1  “การสรางความตระหนักในการคุมครองสิทธิแรงงานตางดาว” โดย ศูนยศึกษาเพื่อการยายถิ่นเอเชีย IOM, หนา 77
                 2  “การสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศในการปฏิบัติการตอตานการใชแรงงานเด็กและการคามนุษย: แนวปฏิบัติสำหรับองคกร” โดย ILO, IPEC, SRO-Bangkok, หนา 7



                   54    บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75