Page 75 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 75

2.2 สิทธิเกี่ยวกับการทำงาน สวัสดิการและความปลอดภัยในการทำงาน

                         • เวลาทำงาน การลา และวันหยุด  พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ใหนายจาง
                  กำหนดสิทธิที่เกี่ยวกับเวลาทำงาน การลา และวันหยุดแกแรงงานขามชาติเชนเดียวกับแรงงานไทย ดังนี้
                         - จำนวนชั่วโมงทำงานปกติไมเกิน 8 ชั่วโมงตอวัน หรือ 48 ชั่วโมงตอสัปดาห

                         - กำหนดเวลาพักระหวางทำงานไมนอยกวาวันละ 1 ชั่วโมงหลังจากทำงานมาแลวไมเกิน
                           5 ชั่วโมงติดตอกัน กำหนดวันหยุดประจำสัปดาหไมนอยกวา 1 วันโดยตองมีระยะหางไมเกิน 6 วัน
                         - กำหนดวันหยุดตามประเพณีไมนอยกวา13 วันใน 1ป โดยแจงใหลูกจางทราบลวงหนา
                         - ลูกจางมีสิทธิการลาปวยโดยไดรับคาจาง ไมนอยกวา 30 วันใน 1 ป

                         - ลูกจางที่ทำงานมาแลวครบหนึ่งปมีสิทธิลาพักผอนประจำปไมนอยกวา 6 วันตอป

                         • การคุมครองแรงงานหญิง กฎหมายไดกำหนดคุมครองการใชแรงงานหญิงไวตั้งแตมาตรา 38
                                                                                                         5
                  ถึง มาตรา 43 คือกำหนดลักษณะงานที่หามลูกจางกระทำ ลักษณะงานที่หามลูกจางหญิงมีครรภทำ
                         - หามลูกจางหญิงทำงานที่เสี่ยงอันตราย ทำงานในเรือและทำงานในระหวางเวลา 22.00–6.00 น.

                         - หามแรงงานหญิงทำงานที่เปนอันตรายตอสุขภาพ เชน งานในเหมืองแร งานนั่งรานสูงกวา
                           สิบเมตร งานที่เกี่ยวกับวัตถุไวไฟ และไดมีขอกำหนดในการคุมครองแรงงานหญิงมีครรภดวย
                           เชน งานเกี่ยวกับเครื่องจักรที่มีความสั่นสะเทือน งานขับเคลื่อน งานแบกของหนักเกินสิบหา
                           กิโลกรัม งานที่ทำในเรือ เปนตน

                         - ลูกจางหญิงมีครรภมีสิทธิลาคลอดบุตรไดไมเกิน 90 วันโดยไดรับคาจางจากนายจาง 45 วัน และ
                           ขอเปลี่ยนงานชั่วคราวในชวงกอนหรือหลังคลอดโดยมีใบรับรองแพทยได โดยหามนายจางเลิกจาง
                           เพราะเหตุมีครรภ
                         - นอกจากนี้  กฎหมายยังคุมครองมิใหนายจาง หัวหนางาน ผูควบคุมงานกระทำการลวงเกิน

                          คุกคามหรือกอความเดือดรอนรำคาญทางเพศตอลูกจางหญิงขยายรวมไปถึงแรงงานชายเชนกัน

                         • การคุมครองแรงงานเด็ก
                         - หามลูกจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ปทำงานที่อันตราย และยังไดกำหนดหามเด็กอายุต่ำกวา 15 ป

                           เปนลูกจาง พรอมทั้งกำหนดหลักปฏิบัติในกรณีที่ตองจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง
                           โดยนายจางตองจัดเวลาพักแกลูกจางเด็ก หามใหเด็กทำงานชวงเวลา 22.00 – 06.00 น. หาม
                           ทำงานลวงเวลาหรือทำงานในวันหยุด และหามมิใหนายจางจายคาจางของลูกจางเด็กแก

                           บุคคลอื่น หามมิใหเรียกหรือรับเงินประกันเพื่อการใดๆ จากฝายลูกจางซึ่งเปนเด็ก
                         - หามนายจางรับเด็กอายุต่ำกวา 16 ปทำงานในเรือประมง

                         - หามนายจางจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจางในงานเกษตรกรรม


                  5  พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2551


                                                                                     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน   59
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80