Page 65 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 65

ขอเรียกรองของลูกจางพมา ใหนายจางจายเงินคางจายคาจาง คาลวงเวลา และคาทำงานใน
                  วันหยุดแกลูกจาง (3 ธ.ค.2545)

                  แนวทางการดำเนินการ
                         • สำนักงาน สวัสดิการและคุมครองแรงงาน จ.ตาก ไดออกคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานที่ 1/2546

                            ใหนายจางจายคาจางคางจาย คาลวงเวลา และคาทำงานในวันหยุดตางๆ ใหแกลูกจางที่ยื่นรอง
                            (28 ก.พ. 2546)

                         • นายจางปฏิเสธคำสั่งที่ 1/2546 ฟองกลับวาไมเปนลักษณะการจางแรงงานแตเปนการจางทำของ
                           ที่มุงผลสำเร็จชิ้นงานจึงไมใชความสัมพันธแบบนายจางลูกจางตอกัน จึงไมอยูในภายใต
                            พระราชบัญญัติ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541

                         • 25 เม.ย.2546 ลูกจางฟองรองเปนคดีตอศาลแรงงาน ฟองที่นายจางไมปฏิบัติคำสั่งของพนักงาน
                            ตรวจแรงงานและขอใหนายจางปฏิบัติตามคำสั่งที่ 1/2546

                         • ในระหวางการรอคำสั่งศาล ไดมีแรงงาน 15 คน ตัดสินใจรับเงินนอกชั้นศาลไปกอนเพราะไม
                            สามารถรอกระบวนการศาลที่ยาวนานมากกวา 2 ปได
                         • 24 ส.ค.2547 ศาลไกลเกลี่ยแลวคูความตกลงกัน และศาลไดจัดทำสัญญาประนีประนอม

                            ยอมความที่ นว. 77/2546 ลงวันที่ 24 ส.ค.2547 ลูกจางไดรับเงินคาจางฯ คางจายไปคนละ
                            60,000 – 70,000  บาท (เปนเงินทั้งหมด 1,570,000 บาท) สำหรับเงินคาจางคางจาย และ

                            คาชดเชยตางๆ ที่แรงงานควรไดรับ ซึ่งเปนเงินที่ไดรับเพียง 1 ใน 3 ตามคำสั่งเดิมของสำนักงาน
                            สวัสดิการและคุมครองแรงงานที่จะไดรับเงินในศาลจำนวน 4.6 ลานบาท


                  ขอมูลจาก : “คำถามและขอทาทายตอนโยบายรัฐไทยในมิติสุขภาวะและสิทธิของแรงงานขามชาติ” (หนา 80-81,153-155) โดย กฤตยา อาชวนิจกุล / “เหลียวหลังแลหนา
                         วิกฤตการคุมครองสิทธิแรงงานขามชาติ” โดย บัณฑิตย ธนชัยเศรษฐวุฒิ


                  กรณีศึกษาที่ 3 : บริษัท บางกอกรับเบอร
                         บริษัท บางกอกรับเบอร  ในเครือสหพัฒน รับจางผลิตรองเทายี่หอ “รีบอค” ของสหรัฐ ไดจาง
                  แรงงานชาวกระเหรี่ยงกวา 200 คน เขาทำงานที่โรงงานแมสอด จังหวัดตาก (แรงงานทั้งหมดมาจาก

                  คายพักพิงชั่วคราว หวยกะโหลก หางจากโรงงานราว 7 กิโลเมตร)
                         หนวยสิทธิมนุษยชนมาตรฐานผลิตภัณฑรีบอค (Reebok Human Right Production Standard)

                  ซึ่งเปนหนวยงานของ บริษัทรีบอคอินเตอรเนชั่นแนล สหรัฐอเมริกา คูคาของบริษัทรับเบอรตรวจสอบ
                  การละเมิดสิทธิแรงงาน เนื่องจาก จายคาจาง แรงงานกะเหรี่ยงไมเทาแรงงานไทย บริษัทรีบอคที่สหรัฐ
                  สงจดหมายถึงบริษัทรับเบอรโดยยื่นเงื่อนไข 2 ประการคือ ใหยกเลิกโรงงานแหงนี้ และใหจายคาแรง

                  เทากันโดยไมเลือกปฏิบัติ



                                                                                     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน   49
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70