Page 57 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 57

แรงงานไดทําแลว ระบบใหลูกจางนายจางชวยกันเองก็ทําแลว หากตองการใหระบบทํางานก็ตองให
              ลูกจางรูสิทธิหนาที่อะไร ที่ไมใชไมถูกไมควรมีชองทางที่ลูกจางสงไปไดอยางไร นายจางก็จะได

              ทํางานใกลชิดมากขึ้น กระทรวงแรงงานก็กํากับนโยบาย ก็บังคับใชกฎหมายใหชัดเจน อันไหนมี
              ปญหาก็ตองใชวิธีบังคับกฎหมายแบบ “เชือดไกใหลิงดู” แลวนํามาเปนกรณีตัวอยางคิดวาคงไมเกิน

              5 ราย ก็ไมตองแกไขกฎหมายทั้งระบบ คือกระทรวงแรงงานตองบังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง เพื่อ

              เปนกรณีตัวอยาง กรณีลูกจางก็เชนกัน เมื่อดูแลลูกจางที่ถูกนายจางรังแก ก็ดูลูกจางที่รังแกนายจาง ก็
              ตองนํามาเปนกรณีศึกษาเชนกัน หากไมเปลี่ยนวิธีคิดกระบวนการในระบบที่ทํางานได ซึ่งตนเห็นวา

              คงเปนระบบทวิภาคี ขบวนการรวมแรงรวมใจรูสิทธิหนาที่และเคารพสิทธิหนาที่ไมเอาเปรียบกัน
              และกัน

                     เรื่อง คนงานเหมาคาแรงงานมีโรงงานบางแหงที่กําหนดใหคนงานที่ทํางานในโรงงานครบ
              4 เดือน ไดเปนคนงานประจําในโรงงาน และใหบริษัทรับเหมาหาคนงานมาใหม ตนเห็นวาเปน

              นายจางที่ดีที่มีแนวคิดเชนนี้ ที่ตอไปคนที่จางเหมาคาแรงตลอดเปนการเอาเปรียบกันรับไมได แตจะ
              ไมใหมีเลยก็คงไมได เพราะการรับออเดอรการผลิตไมไดมีงานสม่ําเสมอ ถาจางเหมาคาแรงตลอดก็

              เห็นวาเปนการเอาเปรียบ ตองแกตรงนี้ไมจําเปนตองตัดระบบการจางงานแบบนี้ ซึ่งขึ้นอยูกับวิธีการ
              จาง ที่ตองอยูบนพื้นฐานที่ไมเอาเปรียบ

                     ตองปรับความคิดระหวางนายจาง ลูกจาง เพราะไมมีใครถูกทั้งหมด ยังมีการเอาเปรียบกัน
              เปนบางครั้ง อยางเอาเปรียบกันตลอดเวลาเพราะเห็นวาเปนผูดอยโอกาส และแรงงานเองก็อยาตีคา

              ตัวเองวาเปนผูดอยโอกาสตลอดเวลา เมื่อรูวาตนเองมีสิทธิมนุษยชนของแรงงานแลวตองใชสิทธิให
              ถูกตองชัดเจน นายจางจะไดไมดูวาคนงานใชสิทธิจนละเมิดสิทธินายจาง เมื่อบริหารสิทธิถูกตอง

              เปนธรรมก็ยอมรับไดไมวาตรงไหน ขอใหทวิภาคีแข็งแรงเพื่อการตอรองกับภาคีที่สามคือรัฐตอไป


                     (3)  นายพรชัย อยูประยงค  กลาววา ขอชื่นชมการรวบรวม และขอเสนอแนะการให

              ปรับปรุงกฎหมาย นโยบาย และเจาหนาที่ในการทํางาน ขอเสนอแนะนั้นเปนประโยชนตอกระทรวง
              แรงงาน และเห็นวาคงตองนําขอเสนอแนะนี้พิจารณาวา จะสามารถปรับปรุงในสวนใดได ซึ่งก็มี

              กฎหมายหลายฉบับที่กรรมการสิทธิฯ มีขอกังวลก็ไดมีการแกไขบางแลว แตก็จะมีกฎหมายบางสวน
              ที่เสนอแลวอาจไมสอดคลองกับที่อนุกรรมการสิทธิฯ เสนอ    แตไมไดหมายความวา การเสนอ

              กฎหมายแรงงานของกระทรวงแรงงานไปแลว ขอเสนอของคณะอนุกรรมการสิทธิก็ยังสามารถ
              เสนอผานทางรัฐบาลได แตการปรับปรุงกฎหมายกระทรวงแรงงานอาจตองมองหลายดาน คือ

              ผลกระทบที่เกิดขึ้น การแกไขปรับปรุงกฎหมายในบางประเด็นจําเปนหรือไม สามารถใชมาตรการ

              ในการบริหารเขาไปจัดการไดหรือไม เมื่อมีการปรับปรุงกฎหมาย จะเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล






              54
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62