Page 52 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 52

และรัฐบาลตองทําอะไรอีกมากมายทั้งดานนโยบาย กฎหมาย และมาตรการเชิงบริหาร คนงานยัง
              ขาดไรที่พึ่งมีขอจํากัดมากมายในการพึ่งกระบวนการยุติธรรม

                     ™   กฎหมายแรงงานมีหลายฉบับมาก การที่จะประมวลกฎหมายแรงงานใหอยูเปน
              หมวดหมูไมกระจัดกระจายใหไปดวยกันเปนเอกภาพที่กระทรวงแรงงานตองทํา ไมใชตางคนตาง

              แกกฎหมายไปคนละทาง  ทําอยางไรใหเกิดการแกไขกฎหมายในภาพรวม

                     ™   มาตรการทางกฎหมายไมครอบคลุมรอบดานสมบูรณ การเขาถึงกฎหมาย และ
              กระบวนการยุติธรรมของคนงานก็ยากมาก ควรมีมาตรการอื่นที่เปนตัวชวยเสริม กระทรวงแรงงาน

              ไมควรตีกรอบการแกไขปญหาแรงงานไวที่มาตรการหรือกลทางกฎหมายเปนหลักฉะนั้นทําอยางไร
              ใหกระทรวงแรงงานสามารถมีกลไกเครื่องมือที่สามารถทํางานแกปญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน

              หรือแบงเบาภาระกระบวนการยุติธรรม เชนหลักจรรยาบรรณทางการคา คณะกรรมการไกลเกลี่ยใน
              ระดับตําบลหรือชุมชน

                     ™   ใหมีการประสานภาคีตางๆ ในจังหวัดหรือชุมชน  ใหมีกลไกที่จะสรางความ
              สมานฉันทในการจัดการความขัดแยงดานแรงงาน

                     ™   การปรับปรุงกฎหมายแรงงานใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เชน การ
              สรางกฎหมายและมาตรการบริหารเพื่อแกไขเรื่องการจางงานหรือระบบจางเหมาที่ไมเปนธรรม การ

              แกไขกฎหมายเพื่อคุมครองคนทํางานทุกภาคสวนทั้งในระบบและนอกระบบ  การคุมครอง
              หลักประกันทางสังคมและความมั่นคงในอาชีพ  การแกไขกฎหมายเพื่อรองรับกับมาตรการทาง

              การคา การใชสิทธิฟองคดีในศาลปกครอง การรองเรียนหนวยงานรัฐสภา เพราะปจจุบันการ
              คุมครองการใชสิทธิของแรงงานยังจํากัดอยูมาก



                     ความคิดเห็นตอขอเสนอคุมครองสิทธิแรงงาน
                     (1)  นายสาวิทย  แกวหวาน กลาววา การตั้งคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย (คส

              รท.)ขึ้นเพื่อรวบรวมประเด็นปญหาทั้งรัฐวิสาหกิจและเอกชน แรงงานขามชาติ แรงงานนอกระบบ
              ทุกปญหาตั้งแตป 2543 มีอยู 18-19 กรณีปญหาที่พยายามแกไขอยู ถามวาภาพรวมไดมีการแกไขมาก

              นอยเพียงไร ในเชิงสถิติ 100% การที่จะเปลี่ยนชีวิตคนงานไดไมมี ทั้งเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจ เชน
              รสพ.ก็ตองชุมนุมปดลอมทําเนียบจนไดรับการฟนฟู รสพ. ซึ่งก็ตองทําแผนการฟนฟูอยูวา รถ

              พนักงานที่เหลือคนที่ไมเขาสูขบวนการจะแกไขปญหาคุมครองสิทธิอยางไร กรณีภาคเอกชนก็มี
              ปญหาหลากหลาย สิ่งที่คณะอนุกรรมการสิทธิฯสรุปไวตรงประเด็นมาก แตนี้เปนเพียงสวนที่มีการ

              รองเรียนกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเขามา หลายสวนที่ไมไดรับการรองเรียนมีอีกจํานวนมาก
              เชน การตรวจการเขาออกสถานที่ทํางานของพนักงานในสถานประกอบการ การติดตั้งกลองวงจร

              ปด มีอีกมากมายที่เปนการละเมิดสิทธิ


                                                                                          49
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57