Page 53 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 53

ปญหาคือ สิ่งที่บัญญัติไวของคณะอนุกรรมการสิทธิฯจะนําไปสูขบวนการการเปลี่ยนแปลง
              ไดอยางไร เรื่องที่เสนอไว เชนเรื่องความปลอดภัย การเลือกปฏิบัติ เรื่องประกันสังคม เรื่องแรงงาน

              สัมพันธ เรื่องการลิดรอนสิทธิเสรีภาพในรัฐวิสาหกิจ เรื่องกระบวนการยุติธรรม ปญหาเรื่องแรงงาน
              ขามชาติ เรื่องผูติดเชื้อเอดส  เรื่องการคุมครองหญิงมีครรภ เรื่องแรงงานเด็ก เรื่องสิทธิเสรีภาพ ใน

              การชุมนุม เรื่องคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ เรื่ององคความรู เรื่องนักธุรกิจนักลงทุนขามชาติ

              เรื่องเหมาคาแรง เรื่องไตรภาคีระดับจังหวัด อนุสัญญาแรงงานระหวางประเทศ (ILO) เรื่อง มรท.
              8001 เรื่องจรรยาบรรณทางการคา และการรวมตัวกันเจรจาตอรอง นี้คือความจริงที่ปรากฏอยูทุก

              ปญหาที่ไมไดรับการแกไขจากภาครัฐ เชน กรณีสถาบันคุมครองสุขภาพความปลอดภัยเมื่อผูใช
              แรงงานเริ่มรางกฎหมายรัฐก็จะรางกฎหมายของกระทรวงแรงงานมาประกบ เชน กฎหมายแรงงาน

              สัมพันธก็เชนเดียวกัน ไมวาจะเปนนโยบายของพรรคการเมือง ซึ่งสวนใหญมีพื้นหลังเปนนักธุรกิจ
              การเปลี่ยนแปลงกฎหมายจึงเปนผลกระทบกับธุรกิจของเขาจึงทําทุกอยางใหขบวนการกฎหมายมี

              ความลาชา สิ่งที่ทําคือ เสนอกฎหมายมาประกบ ใหเอาสองฉบับไปคุยกันอยางสมานฉันทสงให
              กฤษฎีกาตีความ

                     สุดทายทําลายหลักการใหญ เชนสถาบันความปลอดภัยใหเปนองคกรอิสระ ใหการศึกษา
              เยียวยา เปนตน ทายสุดแกไขมาก็ถูกนําไปกําหนดในมาตรา 52 กฎหมายความปลอดภัยฉบับ

              กระทรวงแรงงานนําเสนอ ดวยหลักการใหญรับไมได นั้นคือเรื่องรางกฎหมายจัดตั้งสถาบันสุขภาพ
              ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมในสถานประกอบการ ทั้งที่กฎหมายฉบับนี้เริ่มราง

              ตั้งแตป 2540 แบบมีสวนรวม มีการเขาชื่อเสนอกฎหมาย 50,000 ชื่อ เสนอรัฐสภา จนปจจุบันนี้
              กฎหมายฉบับนี้ยังไมเกิด นี้คือความลาชาของรัฐ

                     การดูแลเรื่องความปลอดภัย ปญหาคือเมื่อมีขอเสนอก็จะมีการเทียบเคียงทั้งที่ไมรูวาจะ

              ไดรับสิทธินั้นหรือไม เรื่องกฎหมายแรงงานสัมพันธก็ไมแตกตางกัน เรื่องกฎหมายประกันสังคม ที่
              ตอสูกันวาจะเปนองคกรอิสระหรือไม หลายคนมีความเห็นตรงกันใหเปนองคกรอิสระ แตอิสระใน

              เชิงรูปแบบหรือไม ที่เสนอก็มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่ไมสามารถแตะตองไดมาตามตําแหนง
              กรรมการบริหารจะมาจากการเลือกตั้งหรือไมอยางไร

                     ในเรื่องระบบแรงงานสัมพันธ แรงงานพยายามใชระบบแรงงานสัมพันธ แตปญหาระบบ
              แรงงานสัมพันธของไทยไมเทาเทียมกัน นายจางมีศักยภาพที่เหนือกวา แรงงานสัมพันธภายใตความ

              ไมเทาเทียม เรื่องของเจาหนาที่รัฐที่แรงงานบอกใหอยูเฉยก็พอ ปลอยใหเปนบทบาทของลูกจาง
              นายจางเจรจากัน ปรากฏวาเจาหนาที่รัฐกับยืนอยูที่ฝงหนึ่ง แทนที่จะยืนอยูตรงกลาง

                     ในสวนของกระบวนการยุติธรรม ลาสุดไดจัดสัมมนาเรื่องคดีของกลุมผูปวยเนื่องจากการ
              ทํางานคดีทอผากรุงเทพ คนงานชนะคดีในการตอสูใชเวลานานถึง 12 ป ในการตอสูนั้นอยูบน

              เจตนารมณของการตัดสินการตั้งศาลแรงงานใหมี 2 ศาลบนพื้นฐานของการใหเกิดความรวดเร็ว



              50
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58