Page 62 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 62

ปญหาเชิงนโยบายแหงรัฐ รัฐไทยไมยอมรับอนุสัญญาที่มีความจําเปนตอแรงงานหลายสิบ
              มาตรา ถือเปนการละเมิด เชนไมยอมใหขาราชการตั้งสหภาพแรงงาน ไมยอมใหพนักงาน

              รัฐวิสาหกิจ กันพนักงานเอกชนรวมกันเปนสหพันธแรงงาน ไมมีในโลกกระทํานอกจากเมืองไทย
              มักจะกลาวถึงกระแสโลกาภิวัตน  ใหสัญญาเปนสมาชิก ILO แตไมใหสัตยาบัน ใชวิธีแกปญหาโดย

              “จับไกใสกรงแคบๆใหตีกัน” คําวารัฐไมไดหมายถึงขาราชการ เพราะขาราชการเปนเพียงเครื่องมือ

              ของรัฐเทานั้น รัฐในที่นี้หมายถึงแผนดิน และประชาชน รัฐบาลคือผูจัดการรัฐ ประเทศไทยมี
              ผูจัดการรัฐที่ไมมีประสิทธิภาพสําหรับเรื่องแรงงาน ตนทํางานในพรรคไทยรักไทย ขอรองใหมีการ

              เขียนนโยบายแรงงานกอนตั้งพรรค ซึ่งเขียนใหหมด และมีขอหนึ่งการเรียกรองใหรัฐรับอนุสัญญา
              87,98 ตองให นํานโยบายไปหาเสียงกับคนงาน เมื่อเปนรัฐบาล พื้นที่คนงานพรรคไดรับคะแนน

              นอยก็ไมทํา เคยทํานโยบายใหพรรคประชาธิปตย แตกอน “ซึ่งไดรับคําตอบวาอยาทําเลย ทําเชนนั้น
              เดียวนายจางมั่นไสพรรค”  เกือบไมมีพรรคการเมืองใดในรัฐแหงนี้ที่สนใจนโยบายแรงงานแบบ

              จริงจัง
                     คนงานที่ไปทํางานตางประเทศที่นําเงินเขาประเทศตองจํานองที่นา บานไปทํางานนั้นหาก

              แครัฐจัดใหมีการพบกันระหวางนายจางกับลูกจางตรงกลางใหเจรจาทําสัญญากันเอง แลวนําสัญญา
              ไปค้ําประกันธนาคาร แลวหักคาจางกันทุกเดือน ไมตองไปเอาเงินไมตองเสียคานายหนาทั้งนายจาง

              ลูกจาง แตคําตอบคือการทําลายการประกอบกิจการของเอกชน คนงานที่ไปทํางานในตางประเทศนํา
              เงินเขาประเทศ  ตนเห็นวา ความจริงใจของรัฐ หรือผูจัดการรัฐไมมีในการแกไขปญหาแรงงาน ไมมี

              พรรคการเมืองพรรคไหนที่จริงใจสรางนโยบายเรื่องลูกจาง
                     การที่รัฐบาลของพรรคไทยรักไทยถูกครอบงําโดยผูประกอบการมากเกินไป ภายใต

              ผูประกอบการไทยที่มองในระยะสั้นมองการพัฒนาฝมือแรงงานเปนตนทุน ซึ่งตนมองวาเปนการ

              ลงทุนตองไดผลตอบแทนคืนคือทําใหแรงงานดีขึ้น นายจางก็ไดผลตอบแทนมากขึ้นก็ได แต
              นโยบายที่ดีของรัฐสามารถทําใหนายจางได ลูกจางได ก็ได คือขยายกรงไกใหกวางขึ้นก็ทําได เพราะ

              อํานาจของนักการเมืองใหญกวา
                     วันนี้มีกองทุนประกันสังคม 4 แสนลานบาท หากจัดการเงินกอนนี้เปนก็สามารถยกระดับ

              ตลาดภายใน ยกระดับนายจาง ยกระดับลูกจาง เพราะเงินนั้นมาจากทั้งนายจางและลูกจาง สามารถ
              จัดการเงินกอนนี้ใหทุกฝายได สรุปคือนโยบายแหงรัฐไมเอื้อประโยชนกับแรงงาน สิ่งที่

              อนุกรรมการสิทธิฯ ทํามาคือ
                     1)    ไมมีแรงงานขามชาติ กรณีแรงงานไทยไปทํางานตางประเทศ ซึ่งเปนปญหาหลัก

                     2)    เรื่องประชาธิปไตยทําไมตัวแทนของคนงานไมมาผานระบบประชาธิปไตย เชน การ
              เลือกตั้งที่ผานมาลูกจางเอกชนประมาณ 13 ลานคนนี้เปนผูประกันตน 9-10 ลานคน มีสหภาพ

              แรงงานประมาณ 2 แสนคน เมื่อจะใชระบบการเลือกตั้ง ทําไมกระทรวงแรงงานใหสิทธิคน 2 แสน


                                                                                          59
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67