Page 47 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 47

การอภิปรายชวงบาย
                     นําเสนอ เรื่อง “ประมวลขอเสนอแนะการคุมครองสิทธิแรงงาน ของคณะอนุกรรมการสิทธิ

              แรงงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ”
                     โดย นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ อนุกรรมการสิทธิแรงงาน กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                     เสนอขอคิดเห็นโดย

                     (1)  นายพรชัย  อยูประยงค รองปลัดกระทรวงแรงงานหัวหนากลุมภารกิจดานสงเสริมขีด
                         ความสามารถในการแขงขันของประเทศ

                     (2)   รศ.ดร.ณรงค เพ็ชรประเสริฐ คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                     (3)   นายสาวิทย  แกวหวาน เลขานุการคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย

                     (4)   นางสิริวัน รมฉัตรทอง ผูอํานวยการสภาองคการนายจางแหงประเทศไทย
                     ดําเนินการโดยนายตุลา ปจฉิมเวช อนุกรรมการสิทธิแรงงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

              แหงชาติ
                     นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์ กลาววาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดรับเรื่องรองเรียนการ

              ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานแรงงานประมาณ 230 เรื่อง ทํารายงานผลการตรวจสอบแลวเสร็จประมาณ
              60 เรื่อง  จะนําเสนอในสวนที่ละเมิดสิทธิอยางรุนแรงหรือมีนัยสําคัญ

                     กรอบการพิจารณานั้นใชหลักสิทธิมนุษยชน หลักสิทธิเสรีภาพ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
              หลักกติกาสากล ครอบคลุมทั้งการละเมิดสิทธิและการปฏิบัติที่ไมเปนธรรม ฉะนั้นกรอบของ

              กรรมการสิทธิมนุษยชนจึงกวางกวากลไกอื่นๆ เชน ศาลแรงงาน  ซึ่งเห็นไดวาศาลจะวินิจฉัยคดีใน
              กรอบที่กฎหมายกําหนดเทานั้น  หรือคณะกรรมการตางๆ ตามกฎหมายก็ทําหนาที่ในกรอบที่

              กฎหมายกําหนดไวเทานั้น


                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติพบเรื่องรองเรียนที่มีมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปน

              จํานวนมาก  จําแนกไดดังนี้

                     ดานการละเมิดศักดิ์ศรีความเปนมนุษย  เชน

                     ™   กรณีลูกจางในประเภทกิจการโรงแรมถูกคนตัวโดยถอดเสื้อผาออกหมดเพื่อหา
              ทรัพยสินของลูกคาที่อางวาสูญหาย มีการคนซ้ําถึง ๒-๓ ครั้ง กอนนี้ก็เคยเกิดเหตุทํานองนี้แลว ทาง

              นายจางยอมประกาศขอโทษ แตก็เกิดเหตุการณซ้ําอีกเหยื่อรายเดิม ซึ่งไมมีการแจงความดําเนินคดี
                     ™   กรณีกิจการอัญมณี นายจางอางวาทองสูญหาย  วัตถุดิบในการผลิตสูญหาย แตนายจาง

              ไมสามารถพิสูจนไดวาใครทํา  เคยฟองคดีอาญาแตเอาผิดใครไมได  จึงเกิดมาตรการคนแบบเขมขน
              มีทีมของนายจางคนตัวพนักงาน






              44
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52