Page 42 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 42

แหงชาติ เปนองคกรไตรภาคี จัดตั้งขึ้นเมื่อป 2519 ซึ่งมีหนาที่ใหคําปรึกษาแนะนํานโยบายดาน
              แรงงานแกรัฐบาล

                            2.   กรมการจัดหางาน  ดูแลกฎหมาย 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติการทํางานของคน
              ตางดาว พ.ศ.2521 และพระราชบัญญัติจัดหางาน และคุมครองคนหางาน พ.ศ.2528

                            3.    กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ดูแลพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.

              2545
                            4.    กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ดูแลกฎหมาย 3 ฉบับ ไดแก พระราชบัญญัติ

              คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518  และพระราชบัญญัติแรงงาน
              รัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ.2543

                           5.    สํานักงานประกันสังคม ดูแลกฎหมาย 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติเงินทดแทน
              พ.ศ.2537 และพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533


                     กระทรวงแรงงาน เคยมีแผนพัฒนากฎหมายแรงงานเมื่อป 2548 มีการปรับปรุงยกราง

              กฎหมายแรงงานหลายฉบับ แตถูกยกเลิกไปเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลเมื่อปลายปกอน สําหรับ

              แผนพัฒนากฎหมายแรงงานป 2550 ซึ่งไดเสนอทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานใหเห็นชอบ
              และมีรางกฎหมายเสนอตอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแลว มีทั้งหมด 11 ฉบับ โดยเปนกฎหมายระดับ

              พระราชบัญญัติ จํานวน 7 ฉบับ และเปนกฎกระทรวง จํานวน 4 ฉบับ
                     รางพระราชบัญญัติ จํานวน 7 ฉบับ ที่เสนอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามลําดับ ไดแก

                           1.    รางพระราชบัญญัติคุมครองผูรับงานไปทําที่บาน พ.ศ. ....  คณะรัฐมนตรีรับ
              หลักการเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2550 อยูในระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา

                            2.    รางพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน
              พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีรับหลักการเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2550 อยูระหวางการพิจารณาของ

              คณะกรรมการกฤษฎีกา
                            3.    รางพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ....  แกไขหมวด 6 คณะกรรมการคาจาง

              คณะรัฐมนตรีรับหลักการเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2550 อยูระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการ
              กฤษฎีกา

                            4.    รางพระราชบัญญัติสงเสริมการประกอบอาชีพ พ.ศ. ....  คณะรัฐมนตรีรับ
              หลักการเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2550

                            5.    รางพระราชบัญญัติการทํางานของคนตางดาว พ.ศ. ....  คณะรัฐมนตรีรับหลักการ

              เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 อยูในระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา





                                                                                          39
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47