Page 35 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 35

๗)   สนับสนุนการลงทุนของชาวตางชาติอยางเปนธรรม  และทําความเขาใจแกผูลงทุนใน เรื่อง
              นโยบาย  กฎหมาย  กฎระเบียบหรือขอบังคับตางๆของไทยและโดยเฉพาะวัฒนธรรมของแรงงานไทย  เพื่อ

              ปองกันมิใหแปลเจตนาคลาดเคลื่อนหรือความขัดแยงบานปลาย
                         ในสวนที่ยายฐานการผลิตเนื่องจากเปนกลยุทธทางการคาโดยที่กิจการมิไดประสบปญหา
              รัฐจะตองมีมาตรการเพื่อคุมครองแรงงานใหไดรับความเปนธรรมมิใชจํากัดอยูเพียงการไดรับสิทธิขั้น

              พื้นฐานตามกฎหมายแรงงานเทานั้น
                     ๘)   ใหปรับปรุงแนวปฏิบัติเพื่อสงเสริมการแรงงานสัมพันธในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๘

              ใหเปนเครื่องมือทางดานแรงงานสัมพันธที่มีบทบาททั้งในเชิงปองกัน แกไขเยียวยา และสงเสริม
              พัฒนา  ใหสามารถแกไขปญหาเชิงรุกหรือทันตอเหตุการณและมีแนวปฏิบัติที่เปนรูปธรรม โดยเปด

              โอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรชุมชน กลุมสหภาพแรงงานในเขตอุตสาหกรรมตาง ๆ
              และสถาบันทางวิชาการดานแรงงานมีสวนรวมในการพิจารณาดวย

                            ใหจัดทําแผนปฏิบัติการณดานแรงงานสัมพันธโดยใชแนวปฏิบัติที่ปรับปรุงแกไขแลว
              ทั้งในสวนที่เพิ่งมีการจัดตั้งองคกรแรงงาน และในสวนที่สอแวววาจะเกิดความขัดแยง

                     ๙)   ใหจัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด ซึ่งประกอบดวยผูแทนหนวยงานภาครัฐ ผูแทน
              ภาคธุรกิจเอกชน ผูแทนองคกรลูกจาง ผูแทนนายจาง ผูแทนสถาบันการศึกษาในระดับจังหวัด

              ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูแทนองคกรชุมชน เพื่อปองกันและแกไขปญหาขอขัดแยง
              ทางดานแรงงานมิใหบานปลายประกอบกับกระบวนการยุติธรรมดานแรงงานยังมีขอจํากัด  มีความ

              ซับซอนและลาชามาก

                     ๑๐) เรงดําเนินการใหหนวยงานของรัฐ  สถานประกอบกิจการ สถาบันทางวิชาการดาน
              แรงงาน และองคกรประชาชนในระดับชุมชนทองถิ่น  รวมกันเสริมสรางความรู ความเขาใจและเจต
              คติที่ถูกตองในเรื่องการสรางระบบแรงงานสัมพันธ  สรางสังคมแหงการเรียนรูดานแรงงานให

              เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของคนทํางาน   และการใชสิทธิและเสรีภาพในการจัดตั้งองคกรและ

              การเจรจาตอรอง
                     ๑๑)  เรงดําเนินการปฏิรูปการบริหารจัดการความขัดแยงทางดานแรงงานสัมพันธ เพื่อให

              เกิดกลไกในระดับจังหวัดโดยทุกฝายที่เกี่ยวของมีสวนรวมคิดและตัดสินใจ เพื่อปองกันและแกไข
              ปญหา โดยไมยึดติดหรือรอมาตรการทางกฎหมายเพียงอยางเดียว

                     ๑๒) เสริมสรางความรูและความเขาใจใหแกผูประกอบการอยางตอเนื่อง ในเรื่องการให
              สิทธิหรือโอกาสแกลูกจางหรือผูนําสหภาพแรงงานในการสงเสริมและพัฒนาความรูทางดาน

              แรงงาน    เพราะเปนกระบวนการที่ทําใหทุกฝายเขาใจสิทธิและหนาที่ของตน  อันเปนยุทธศาสตร
              ระดับชาติที่สอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ  และ

              การสรางระบบแรงงานสัมพันธเชิงสมานฉันท



                32
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40