Page 31 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 31

๒ ดานการไมเลือกปฏิบัติ

                     ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย  มีดังนี้
                     ๑)   ใหการคุมครองแรงงานใหเกิดความเทาเทียมกันทั้งในระบบและนอกระบบ

              โดยเฉพาะในการจัดทํารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จะตองมีบทบัญญัติที่รับรองสิทธิเสรีภาพ
              และความเสมอภาคของคนทํางานในทุกสาขาอาชีพ  องคการอิสระดานการคุมครองสุขภาพและ

              ความปลอดภัยในการทํางานและใหครอบคลุมคนทํางานทุกสาขาอาชีพ  เปนตน
                     ๒)   ปองกันมิใหมีการกีดกันแรงงานที่เปนผูพิการ  หรือเปนผูปวยเอชไอวี (เอดส) ที่ไมมี

              อาการแทรกซอนและยังสามารถทํางานได
                     ๓)  ปองกันมิใหมีการเจาะเลือดเพื่อตรวจหา เอชไอวี (เอดส) ทั้งในระยะกอนการสมัคร

              งาน  ระหวางที่รับเขาทํางานแลว  โดยมิไดรับความยินยอมจากคนทํางาน
                     ๔)  รัฐตองทบทวนนโยบายการจางแรงงานขามชาติหรือแรงงานตางดาวใหมีความ

              เหมาะสมสอดคลองกับความจําเปนที่จะตองใชแรงงานขามชาติโดยมิใหกระทบตอสิทธิการมีงาน

              ทําของคนไทย และสถานการณดานแรงงานของประเทศไทย  ทั้งจะตองดําเนินนโยบายเพื่อใหมีการ
              คุมครองแรงงานขามชาติใหไดรับสิทธิตามที่กฎหมายแรงงานกําหนดไว และรับรองใหแรงงานขาม
              ชาติมีสิทธิอยูในประเทศไทยเพื่อใชสิทธิตามกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม

                         หากไมเรงแกไข  แรงงานไทยทั้งในระบบและนอกระบบจะไดรับผลกระทบและไมมี

              ความมั่นคงในอาชีพ
                     ๕)   ใหปรับปรุงแกไขกฎหมายเกี่ยวกับแรงงานเพื่อใหลูกจางในระบบเหมาชวงหรือเหมา

              คาแรงงานในงานที่เปนกระบวนการผลิตของสถานประกอบการไดรับสิทธิและสภาพการจางจาก
              สถานประกอบการโดยเทาเทียมหรือเปนธรรม  โดยเฉพาะจําเปนตองปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติ

              คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ควบคูกัน
                         ใหจัดตั้งศูนยปฏิบัติการพิเศษเพื่อแกไขปญหาการละเมิดสิทธิแรงงานในระบบการจาง

              เหมา   คาแรง   ใหลูกจางของผูรับเหมาคาแรงสามารถเขาถึงสิทธิขั้นพื้นฐานตามกฎหมายและสภาพ
              การจางที่เปนธรรม   เนื่องจากลูกจางดังกลาวถูกละเมิดสิทธิในหลายๆ ดาน  และไมพรอมที่จะแสดง

              ตนเพื่อใชสิทธิเรียกรองตามกฎหมาย

                     ขอเสนอการแกไขกฎหมาย   มีดังนี้

                     ๑)   ใหเรงรัดพิจารณาใหมีกฎหมายเพื่อคุมครองแรงงานสําหรับแรงงานนอกระบบ
              ดังเชนที่เครือขายแรงงานนอกระบบ  หรือเครือขายเกษตรกรในระบบเกษตรพันธะสัญญา ได

              เรียกรองตอรัฐบาล  โดยเฉพาะในสวนของเครือขายแรงงานนอกระบบและมูลนิธิเพื่อการพัฒนา
              แรงงานและอาชีพ ไดเสนอรางพระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมพัฒนาผูรับงานไปทําที่บาน



                28
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36