Page 30 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 30

๙)  ใหมีมาตรการทางกฎหมายและบริหารเพื่อคุมครองสิทธิของคนทํางานในกรณี
              ผูประกอบการเลิกจาง  ลดขนาดองคกรหรือปดกิจการอันกระทบตอลูกจางสวนรวม  เชน การ

              ปรับปรุงแกไขกฎหมายเกี่ยวกับแรงงานใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจตรวจสอบสถานะของ
              กิจการ    และมีอํานาจสั่งใหนายจางวางเงินเปนหลักประกันสิทธิของลูกจางตามกฎหมาย  หาก

              ตอมามีการเลิกจางหรือปดกิจการ  หรือการจัดตั้งกองทุนเพื่อปองกันหรือแกไขปญหาจากความเสี่ยง

              ดังกลาว

                     ๑๐) ใหรัฐบาลประสานงาน กระทรวงแรงงาน กระทรวงพาณิชย และกระทรวง
              อุตสาหกรรม เพื่อรวมกันกําหนดมาตรการในการตรวจสอบผูประกอบการหรือหนวยธุรกิจที่มีเงิน

              ลงทุนนอย ไมมีทรัพยสินเปนของตนเอง มีภาระหนี้สินหรือการประกอบการอยูในภาวะเสี่ยง  เปน
              ตน   เพื่อใหมีหลักประกันสิทธิของลูกจางตามกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน  และเพื่อความมั่นคงในการ

              ทํางานและการประกอบอาชีพ


                     ขอเสนอการแกไขกฎหมาย   มีดังนี้
                     ๑)   ปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติเงินทดแทน  พ.ศ. ๒๕๓๗  ในประเด็น ดังตอไปนี้

                            (๑)  เพิ่มคาทดแทนการขาดรายไดในระหวางพักรักษาตัว ในอัตราที่เหมาะสม  เชน

              รอยละ  ๘๐  ของคาจางโดยใหรัฐบาลรวมรับผิดชอบดวย  เพื่อเปนการแบงเบาภาระของนายจาง
                            (๒)  ขยายระยะเวลาการคุมครองตามกฎหมายจาก  ๑  ป  เปน  ๒  ป

                           (๓) ขยายวงเงิน  คารักษาพยาบาล  หรือคาใชจายใด ๆ ที่เกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพ
              ของรางกายจนหายเปนปกติ

                     ๒)  แกไขพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑  มาตรา ๑๕๙ ในเรื่องการ
              เปรียบเทียบปรับเพื่อยกเวนโทษจําคุกหรือการดําเนินคดีอาญา ไมใหใชกับการละเมิดสิทธิแรงงานที่

              สําคัญ เชน การละเมิดสิทธิแรงงานเด็ก คาตอบแทนการทํางาน ความปลอดภัยในการทํางาน เปนตน
                     ๓)   ปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และพระราชบัญญัติ

              ประกันสังคม  พ.ศ. ๒๕๓๓  เพื่อคุมครองลูกจางหญิงมีครรภใหชัดเจนและครอบคลุม เชน ใหมี
              มาตรการคุมครองการเลิกจางหญิงมีครรภ  การจัดตําแหนงงานที่เหมาะสม  ไมปฏิบัติตอลูกจางหญิง

              มีครรภในลักษณะ  “บุคคลที่เปนภาระหรือสรางปญหาใหคนอื่น”
                     ๔)   แกไขกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิแรงงานในเรื่องสําคัญใหมีการบริหาร การ

              บังคับใชกฎหมาย และการตรวจแรงงานในระบบ  “สมบูรณในจุดเดียว” ( One Stop Service ) เชน
              การคุมครองลูกจางมีครรภ  การยายสถานประกอบการที่กระทบตอลูกจาง   การตรวจสอบระบบ

              การจางเหมาชวงแรงงาน




                                                                                          27
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35