Page 32 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 32

พ.ศ.....  ตอคณะกรรมาธิการ  การแรงงานและสวัสดิการสังคม   สภานิติบัญญัติแหงชาติแลว
              รวมทั้งการแกไขกฎหมายวาดวยการประกันสังคมใหครอบคลุมแรงงานนอกระบบดวย

                     ๒)  การแกไขกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
                            (๒.๑)   แกไขกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ

              คุมครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑  ขอ ๒ (๒) ที่มิใหใชกฎกระทรวงกับเรือประมงที่ไปดําเนินการ

              ประจําอยูนอกราชอาณาจักรติดตอกันตั้งแต ๑ ปขึ้นไป  เนื่องจากสถานการณกิจการประมงทะเล
              เปลี่ยนแปลงไปมาก

                            (๒.๒)  แกไขกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๔๑  ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครอง
              แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑  ขอ (๒)  ที่หามมิใหใชบางมาตรา กับลูกจางทํางานบานอันมิไดมีธุรกิจรวมอยู

              ดวย เพื่อใหลูกจางทํางานบานไดรับการคุมครองอยางเปนธรรม เหมาะสมกับคุณคาของการทํางาน
                     ๓)   แกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ ที่หามมิใหแรงงานขามชาติเปนผู

              จัดตั้งสหภาพแรงงานหรือเปนกรรมการสหภาพแรงงาน เพราะขัดตออนุสัญญาแรงงาน ILO ฉบับที่
              ๘๗ และ ฉบับที่ ๙๘ และเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม

                     ๔)   แกไขกฎหมายวาดวยการทํางานของคนตางดาว ใหแรงงานขามชาติที่เขาเมืองโดยผิด
              กฎหมายมีสิทธิอยูในราชอาณาจักรเพื่อดําเนินคดีตามกฎหมายในกรณีที่ถูกละเมิดกฎหมาย

              มาตรฐานแรงงานหรือสิทธิมนุษยชน
                     ๕)  แกไขกฎหมายหรือระเบียบเกี่ยวกับการเรียกรองสิทธิตามกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน

              ของแรงงานขามชาติ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแรงงาน  ๑  คน มีอํานาจฟองคดีและใหมีผลบังคับ
              ถึงแรงงานทุกคนที่ถูกละเมิดสิทธิ  เพื่อประโยชนตอการคุมครองแรงงานขามชาติ และแบงเบาภาระ

              ของรัฐบาลไทย


              ๓. ดานการประกันสังคม

                     ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
                     ๑)   ใหมีการตรวจสอบระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับสวัสดิการรักษาพยาบาลของสถาน

              ประกอบการตางๆ โดยเฉพาะที่ไดรับการลดสวนอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคมมาแลว

              เพื่อใหถูกตองสอดคลองกับเจตนารมณของกฎหมายประกันสังคม หรือ ขอใหยกเลิกการลดสวนเงิน
              สมทบ เพื่อจายเงินสมทบอัตราปกติ  เพื่อเปนหลักประกันกรณีเจ็บปวย หรือประสบอันตรายแก

              ลูกจางทุกคนในระยะยาว และเพื่อปองกันขอขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
                         การพิจารณาลดสวนอัตราเงินสมทบ   คณะกรรมการประกันสังคมจะตอง

              ปรึกษาหารือ กับองคกรของคนทํางาน เชนคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
              สหภาพแรงงาน หรือคณะกรรมการลูกจาง  เพื่อใหมีสวนรวมตรวจสอบความถูกตองในเรื่องการจัด



                                                                                          29
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37