Page 37 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 37

ประโยชนตามกฎหมายและตามขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางของสถานประกอบการโดยเสมอภาค
              กับลูกจางของสถานประกอบการ

                     ๓)   เรื่อง  คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ  มาตรา  ๓๗ ถึงมาตรา  ๔๔ และหมวด  ๙  การ
              กระทําอันไมเปนธรรมมาตรา  ๑๒๕  ถึงมาตรา  ๑๒๗  โดยมีหลักการ ดังนี้

                         ™  ใหเพิ่มองคประกอบของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ    โดยใหมีผูทรงคุณวุฒิ

              ทางดานแรงงาน เศรษฐศาสตร กฎหมาย สังคมวิทยา และสิทธิมนุษยชน เพื่อประสิทธิภาพในการ
              วินิจฉัยชี้ขาดขอกฎหมายและการสงเสริมแรงงานสัมพันธ ในฐานะที่คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ

              เปนกระบวนยุติธรรมทางดานแรงงานชั้นตนที่มีความสําคัญยิ่งตอระบบแรงงานสัมพันธ (มาตรา
              ๓๗)

                         ™   ใหคําสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธเปนที่สุด  การฟองคดีเพื่อเพิกถอนคําสั่ง
              ของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ  ไมเปนเหตุทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการแรงงาน

              สัมพันธ  หากมีการฝาฝนคําสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ  ผูเสียหายมีสิทธิดําเนินคดีอาญา
              ได ทันที (มาตรา ๑๒๕-๑๒๗)

                         ™   ใหเพิ่มอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ  ในการกําหนด
              มาตรการตางๆ  เพื่อแกไขปญหาเชิงรุก  หรือเชิงปองกัน  หรือมาตรการฟนฟู  หรือสงเสริมแรงงาน

              สัมพันธภายหลังคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีคําสั่งแลว (มาตรา  ๔๑)
                         ™   กําหนดมาตรการคุมครองเรื่องการกระทําที่ไมเปนธรรมใหชัดเจน  เปนลําดับหรือ

              ขั้นตอน  (มาตรา ๔๑)  กลาวคือ (๑)  การออกคําสั่งใหผูละเมิดหรือนายจางดําเนินการใหลูกจาง
              กลับคืนสถานภาพเดิม  เชน  กลับเขาทํางานพรอมทั้งชดใชคาเสียหายในระหวางเลิกจาง  การยายกลับ

              หนวยงานเดิมพรอมทั้งชดใชคาเสียหาย   เวนแตผูถูกละเมิดไมประสงค

                         ทั้งนี้ในกรณีที่จําเปนหรือมีเหตุใหแกไขเยียวยาดานแรงงานสัมพันธ  ใหคณะ
              กรรมการแรงงานสัมพันธกําหนดมาตรการเพื่อแกไขปญหาภายหลังมีคําสั่งดวย


                     ขอเสนอแนะเชิงนโยบายดานแรงงานรัฐวิสาหกิจ (กระทรวงการคลังและรัฐบาล) มีดังนี้


                     ๑)   จัดแบงประเภทของรัฐวิสาหกิจตามวัตถุประสงคในการจัดตั้งใหชัดเจน เพื่อรัฐบาลจะ
              ไดสนับสนุนไดอยางเหมาะสมสอดคลองและไมทําใหเกิดการเลือกปฏิบัติ ทั้งในดานสวัสดิการและ

              สภาพการจางของพนักงานระหวางรัฐวิสาหกิจที่มีผลกําไรเชิงธุรกิจ  กับสวนที่บริการสาธารณะหรือ
              สังคม  และนโยบายการพัฒนาประสิทธิภาพในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจอยางจริงจังและจริงใจ

                     ๒)   มติคณะรัฐมนตรีที่จะมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพของรัฐวิสาหกิจจะตอง
              คํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับพนักงานของรัฐวิสาหกิจนั้น และตองมีมติในเรื่องดังกลาวใหชัดเจน

              ดวย


                34
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42