Page 40 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 40

๔)   ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหมีมาตรการที่เขมงวดในการตรวจสารเสพติด
              ของบริษัทเอกชน หรือสถานประกอบการตาง ๆ โดยใหมีเจาพนักงานตํารวจและหนวยงานอื่น ๆ

              เชน  เจาหนาที่สาธารณสุข หรืออาสาสมัครที่จัดตั้งโดยกฎหมาย  เปนตน  เขารวมในการตรวจดวย
              เพื่อใหผูรับการตรวจไดแสดงความยินยอมโดยสมัครใจ


                     ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอสํานักงานศาลยุติธรรม    มีดังนี้
                     ๑)   พัฒนาศาลแรงงานใหเปนศาลชํานาญการพิเศษดานแรงงาน

                           ในการไกลเกลี่ยคดีของศาลแรงงาน  ควรเปดโอกาสใหผูรอบรูทางดานแรงงาน นัก
              เศรษฐศาสตร และนักสิทธิมนุษยชน มีบทบาทหรือมีสวนชวยงานของศาลดวย

                     ๒)  ใหศาลแรงงานพิจารณากําหนดคาเสียหายกรณีนายจางละเมิดกฎหมาย หรือการเลิก
              จางโดยไมเปนธรรมใหสูงกวาที่เปนอยูในปจจุบันนี้ เพื่อใหนายจางพิจารณาเลิกจางโดยรอบคอบ

              เปนธรรม
                     ๓)  ใหศาลแรงงานจัดระบบบริหารคดีเพื่อพิจารณาคดีแรงงานที่มีลักษณะพิเศษ หรือที่มี

              ผลกระทบตอลูกจางกลุมใหญหรือองคกรแรงงานหรือที่เกี่ยวของกับสุขภาพและความปลอดภัยใน

              การทํางานของลูกจาง   เพื่อใหคดีเสร็จโดยรวดเร็วและเปนธรรม
                     ๔)   ในกรณีที่นายจางและลูกจางตางฝายตางฟองคดีตอกันและกันทั้งในศาลแรงงานและ

              ศาลอื่น ตลอดจนมีการรองเรียนตอหนวยงานตาง ๆ ดวย ใหสํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดมาตรการ
              เพื่อแกไขขอขัดแยงดังกลาว  โดยยึดหลักการประสานความรวมมือของหนวยงานตาง ๆ ดวย



                                           XYZW XYZW





























                                                                                          37
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45