Page 36 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 36

๑๓)   ใหปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ แนวปฏิบัติเพื่อสงเสริมการ
              แรงงานสัมพันธในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๘  และ มาตรฐานแรงงานไทย ๘๐๐๑  ใหมีหลักประกันสิทธิ

              และเสรีภาพของลูกจางและองคกรแรงงานในการดําเนินกิจกรรม การชุมนุมโดยสงบปราศจากอาวุธ และ
              การรับรูขอมูลขาวสาร  และเรงรัดใหผูประกอบการนําหลักจรรยาบรรณทางการคามาบังคับใชเพื่อให

              เกิดผลปฏิบัติอยางจริงจังโดยภาคประชาสังคมมีสวนรวม

                     ขอเสนอการแกไขกฎหมาย  มีดังนี้


                     ๑)    แกไขกฎหมายหรือออกระเบียบหรือแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการแรงงานสัมพันธในเรื่องการใช
              สิทธิและเสรีภาพของลูกจางและนายจาง  องคกรลูกจางและองคกรนายจางในการดําเนินกิจกรรมของ
              องคกร  การเจรจาตอรองรวม หรือการใชสิทธิตามกฎหมายภายในสถานประกอบกิจการของนายจาง

              เพื่อใหเกิดความสมดุลในสิทธิและเสรีภาพของทั้งสองฝาย  และเปนพื้นฐานที่สําคัญของการพัฒนาระบบ
              แรงงานสัมพันธในสถานประกอบการ

                     ๒)  แกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘  เรื่องการกระทําอันไมเปนธรรม  เพื่อให
              การคุมครองลูกจางหรือองคกรลูกจางที่ใชสิทธิรองเรียนนายจางตอหนวยงานของรัฐ  การใชสิทธิตาม

              กฎหมายเกี่ยวกับแรงงานทั้งหมด  การฟองคดีตอนายจางทุกประเภทคดี     การดําเนินการตามหลัก
              จรรยาบรรณทางการคาตลอดจนการใชสิทธิตามรัฐธรรมนูญเพื่อรองเรียนนายจาง

                     ๓)   แกไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ  พ.ศ. ๒๕๑๘ ในสวนที่เกี่ยวกับคณะกรรมการ

              แรงงานสัมพันธ  ในเรื่องที่มาและองคประกอบเพื่อใหเปนองคกรที่มีความชํานาญการพิเศษทางดาน
              การแกไขขอขัดแยงทางดานแรงงานสัมพันธ  เพื่อใหไดขอเท็จจริงที่สมบูรณในการวินิจฉัยคดี ทําให

              ลดขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมและใหคณะกรรมการแรงงานสัมพันธมีอํานาจแกไขปญหา
              ความขัดแยงภายหลังมีคําสั่งหรือมีคําพิพากษาของศาลแลว


                     ประเด็นกฎหมายที่สําคัญ มีดังนี้
                     ๑)   ในการขั้นตอนการเจรจาไกลเกลี่ย ขอพิพาทแรงงาน ใหพนักงานประนอมขอพิพาท

              แรงงานมีอํานาจเรียก ผูมีอํานาจตัดสินใจฝายนายจาง  มาเจรจา   ใหคูกรณีสงขอมูลที่เกี่ยวของกับ
              ขอพิพาทแรงงานและสงขอมูลใหอีกฝายหนึ่งดวย  จัดทําบันทึกขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง

              ตามที่นายจางและลูกจางไดตกลงกันตอเจาพนักงาน  และใหเจาพนักงานนําขอตกลงเกี่ยวกับสภาพ
              การจางดังกลาวไปจดทะเบียนตามกฎหมาย

                     ๒)   ปรับปรุงกฎหมายวาดวยการแรงงานสัมพันธและกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน
              เพื่อใหลูกจางในระบบจางเหมาคาแรงในกระบวนการผลิตของสถานประกอบการไดรับสิทธิ







                                                                                          33
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41