Page 38 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 38

๓)  ในกรณีที่จะมีการแปลงสภาพรัฐวิสาหกิจ  ซึ่งกระทบตอสิทธิและความมั่นคงในการ
              ทํางานของพนักงาน จะตองมีการแจงขอมูลที่ครบถวนถูกตอง มีหลักเกณฑที่โปรงใสเปนธรรม ใช

              หลักธรรมาภิบาล โดยตองใหพนักงานมีสวนรวมในการตัดสินใจตั้งแตเริ่มตนกระบวนการ
              จนกระทั่งสิ้นสุด โดยคํานึงถึงหลักประกันเรื่องสิทธิประโยชนของพนักงานเปนสําคัญ

                     ๔)  เรงจัดทําระเบียบหรือแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใชสิทธิและเสรีภาพของลูกจางและ

              นายจางภายในสถานประกอบการของนายจาง โดยเฉพาะเรื่องการรวมตัวและการเจรจาตอรองรวม
              การประชุมหรือชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ  และการดําเนินงานหรือการใชสิทธิตาม

              กฎหมาย  ภายในสถานประกอบการของนายจาง
                     ๕)  ปรับปรุงแกไขกฎหมายวาดวยการแรงงานสัมพันธทั้งในสวนภาคเอกชนและภาค

              รัฐวิสาหกิจใหมีการเชื่อมประสานกันและ ไมแบงแยกแรงงาน


                     ขอเสนอแนะตอการปฏิบัติหนาที่หรือพฤติกรรมของเจาหนาที่รัฐหรือคณะกรรมการตาม
              กฎหมาย


                     กระทรวงแรงงาน   มีดังนี้

                     ๑)   ใหสอบสวนการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานตรวจแรงงาน  เจาหนาที่กองทุนเงิน
              ทดแทน สํานักงานประกันสังคมจังหวัด  ในเรื่องการตรวจสอบขอเท็จจริงและการออกคําสั่งสอไป

              ในทางไมสุจริต เอื้อประโยชนหรือเขาขางนายจาง  ในกรณีดังตอไปนี้

                         ™   ประสบอันตรายจากการทํางานจนทุพพลภาพ
                         ™   นายจางขนยายทรัพยสินและเครื่องจักรและปดกิจการในเวลาตอมา
                         ™   แรงงานขามชาติไมไดรับคาจาง คาลวงเวลาและคาทํางานในวันหยุดตามกฎหมาย

                     ๒)  ใหตรวจสอบระบบและกระบวนการทํางานในการตรวจสอบขอเท็จจริง  การมีมติและ

              การวินิจฉัยอุทธรณของคณะอนุกรรมการในชั้นอุทธรณ หรือคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ใน
              การวินิจฉัยอุทธรณเรื่องเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อใหมีบทบาท

              ในการตรวจสอบและกลั่นกรองการวินิจฉัยของเจาหนาที่กองทุนเงินทดแทนใหมีประสิทธิภาพ

                     กระทรวงมหาดไทย  มีดังนี้
                            ใหตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของนายอําเภอและปลัดเทศบาลตําบล  ที่สอไปในทางละเมิด

              สิทธิของลูกจางในการจัดตั้งองคกรและการเจรจาตอรอง
                         ™   กรณีนายอําเภอใหนายจางใชหองประชุมของอําเภอจัดอบรมลูกจางที่เกี่ยวของกับ

              ขอเรียกรองโดยไมมีเวลาสิ้นสุด มีลักษณะกดดันลูกจาง และไมใหบริการตามสมควร




                                                                                          35
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43