Page 34 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 34

™    เมื่อมีขอขัดแยงในระหวางเตรียมการจัดตั้งองคกรหรือในขั้นตอนการเจรจาตอ
              รองหรือการใชสิทธิเมื่อมีขอพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไมไดแลว  ตามพระราชบัญญัติแรงงาน

              สัมพันธ  พ.ศ. ๒๕๑๘
                            ™   เมื่อมีการใชสิทธิหรือรองเรียนตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยในสวนที่

              เกี่ยวของกับนายจางหรือทางดานแรงงาน

                            ™   เมื่อมีการรองเรียนขอความเปนธรรมตอหนวยงานดานบริหารของรัฐ หรือกลไก
              ทางรัฐสภา

                            ™   เมื่อมีการรองเรียนตอองคการแรงงานระหวางประเทศหรือองคการดานสิทธิแรง
              งานหรือสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ

                     ๒)   ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของกับการคุมครองแรงงานและระบบแรงงาน
              สัมพันธ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และตอบสนองตอสิทธิและเสรีภาพในการรวมตัวและการ

              เจรจาตอรองรวม  โดยใหความสําคัญกับการจัดตั้งกลไกหรือสถาบันเพื่อแกไขปญหาขอขัดแยง
              ในทางแรงงานสัมพันธ  ใหเหมาะสมสอดคลองกับสถานการณแรงงาน   ลดขั้นตอนทางกฎหมายที่

              ซับซอนและยุงยาก   หันเหการใชเทคนิคทางกฎหมายเพื่อละเมิดสิทธิแรงงาน   เพื่อใหเกิดความเปน
              ธรรมและความสมานฉันท

                     ๓)   เรงดําเนินการเพื่อใหสัตยาบันอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ  ฉบับที่  ๘๗
              และ ฉบับที่ ๙๘   วาดวยเสรีภาพในการสมาคม   และเจรจาตอรองรวม   และคุมครองสิทธิในการ

              รวมตัวกัน  เพื่อเปนการแสดงจุดยืน  และความพรอมของประเทศไทยในเวทีตางประเทศ
                     ๔)   ประชาสัมพันธหรือเผยแพรหลักการ แนวคิด  ในเรื่องสิทธิเสรีภาพของลูกจางในการ

              รวมตัวและการเจรจาตอรองรวม  การใชมาตรฐานแรงงานไทย ๘๐๐๑  หรือมาตรการจรรยาบรรณ

              ทางการคา  เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนดานแรงงาน   เพื่อใหสังคมรับทราบอยางตอเนื่อง
                     ๕)  ใหมีนโยบายที่ชัดเจนในการสงเสริมพัฒนาและคุมครองเสรีภาพในการรวมตัว และ

              การเจรจาตอรองรวมของลูกจาง   และสงเสริมความสัมพันธในระดับทวิภาคีใหเกิดความรวมมือ
              และประสานประโยชนระหวางนายจางกับลูกจาง    ปรับเปลี่ยนทัศนคติของนายจางและลูกจาง

              เพื่อใหเกิดความรวมมือ   และสรางสมดุลระหวางการผลิตกับคุณภาพชีวิตของแรงงาน
                     ๖)   แนวทางการไกลเกลี่ยประนอมขอพิพาทในกรณีการเลิกจางโดยไมเปนธรรม  ควรอยู

              บนพื้นฐานของการสงเสริมการดํารงอยูของสหภาพแรงงานหรือตัวแทนของลูกจาง    ความขัดแยง
              ดานแรงงานเปนปญหาเชิงโครงสรางมิใชความขัดแยงสวนบุคคล

                            ดังนั้น  การที่เจาหนาที่ของรัฐไกลเกลี่ยขอพิพาทแรงงานหรือขอขัดแยงระหวาง
              นายจางกับลูกจางโดยเนนใหลูกจางหรือผูนําองคกรรับเงินชวยเหลือหรือเงินพิเศษจากฝายนายจาง

              โดยใหเหตุผลวาไมอาจทํางานรวมกันตอไปได  จึงเปนการแกไขปญหาที่ไมถูกตอง


                                                                                          31
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39