Page 84 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 84

๔
        บทที่














































                                       หรือไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแรงงาน (รายงานผลการตรวจสอบที่ ๒๓๐/
                                       ๒๕๕๐  กรณีนายวรรณลพ  มากโพธิ์  ผู้ร้อง  บริษัท  แคนาดอล

                                       เอเชีย จำกัด และบริษัท แคนาดอยล์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนสตรั๊คชั่น
                                       จำกัด ผู้ถูกร้อง)
                                             นายจ้างในกิจการขนส่งสินค้า จังหวัดระยอง มีพฤติการณ์กดดัน
                                       หรือข่มขู่ลูกจ้างมิให้เกี่ยวข้องกับสหภาพแรงงาน  ให้ลาออกจาก
              สหภาพแรงงานมิฉะนั้นอาจได้รับผลกระทบต่อชีวิตและร่างกาย โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจนอกประจำการโดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจนอกประจำการ
              สหภาพแรงงานมิฉะนั้นอาจได้รับผลกระทบต่อชีวิตและร่างกาย
              เข้ามาเกี่ยวข้องในการกดดันด้วย  (รายงานผลการตรวจสอบที่ ๘๘/๒๕๕๐ กรณี นายไพศาล
              พลายแก้ว ผู้ร้อง บริษัท เจ ทรานสปอร์ต จำกัด ผู้ถูกร้อง)
              	     ลูกจ้างในกิจการผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์การสื่อสารและโทรคมนาคมถูกเลิกจ้างหลัง

              จากได้ร่วมกันเป็นผู้เริ่มก่อการยื่นคำขอจดทะเบียนสหภาพแรงงานเพื่อชีวิตทรู  แต่นายจ้างอ้างว่า
              สืบเนื่องจากธุรกิจไม่มีกำไร และการดำเนินงานตามโครงการต่างๆ เสร็จแล้ว และมีนโยบายปรับ
              โครงสร้างให้เหมาะสมกับสภาวะการแข่งขันทางธุรกิจ จำเป็นต้องลดขนาดของหน่วยงาน เพื่อให้เกิด
              ความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น และในการเลิกจ้างนั้นบริษัทฯ ได้จ่ายค่าชดเชยและเงินอื่น
              ใดที่ผู้ร้องพึงมีพึงได้ครบถ้วนตามกฎหมายทุกประการ  มิได้เลิกจ้างเพราะเหตุตามที่ลูกจ้างอ้างใน
              คำร้องเรียน


        ๘๔    สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   84                                                                      7/28/08   8:55:48 PM
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89