Page 52 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 52

๓
        บทที่





































              	     กสม. มี จำนวน ๑๑ คน มีความหลากหลาย

              คำนึงถึงสัดส่วนหญิงชาย  และการมีส่วนร่วมของ
              องค์กรพัฒนาเอกชน  มีอายุ  ๓๕  ปีขึ้นไป  ดำรง
              ตำแหน่งคราวละ ๖ ปี เพียงวาระเดียวโดยมีกรรมการ
              สรรหาทั้งหมด ๒๗ คนที่ยึดโยงกับภาคประชาสังคม
              เพื่อสรรหาให้ได้ ๒๒ คน และวุฒิสมาชิกที่มาจากการ
              เลือกตั้งของประชาชน เป็นผู้เลือกให้เหลือ ๑๑ คน
              และพระมหากษัตริย์ทรงโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง
              	     กสม.รุ่นแรก (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ - ๒๕๕๐) เป็นหญิง ๕ คน ชาย ๖ คน จบการศึกษา
              ประถมศึกษาปีที่  ๔  ถึงระดับปริญญาเอก  มีทั้งจากองค์กรชาวบ้าน  องค์กรพัฒนาเอกชน  และ

              ข้าราชการระดับสูง และมีอายุ ๓๕ ปี จนถึง ๗๐ ปีเศษ

              ภารกิจและอำนาจหน้าที่ของ กสม.
              	     กสม. มีภารกิจสำคัญสรุปได้ ดังนี้
                    ๑) ตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือการละเลยการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
              หรือไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอ

              มาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงาน เพื่อดำเนินการ ในกรณีที่ปรากฏวาไมมีการ
              ดำเนินการตามที่เสนอ ใหรายงานตอนายกรัฐมนตรี และถาไมเปนผลใหรายงานตอรัฐสภา
              เพื่อดำเนินการตอไป




        ๕๒    สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   52                                                                      7/28/08   8:48:58 PM
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57