Page 44 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 44

๒
        บทที่






              ของรัฐสภา  (มาตรา  ๑๙๖-๑๙๘)  และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
              (มาตรา ๒๙๗-๓๐๒)
              	     (๒) กฎหมายหลักด้านแรงงานในความรับผิดชอบของกระทรวงแรงงาน

                ที่                 ชื่อกฎหมาย                          หน่วยงานรับผิดชอบ
               ๑  พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.๒๕๒๑  กรมการจัดหางาน (กกจ.)

                    พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน
               ๒                                                กรมการจัดหางาน (กกจ.)
                    พ.ศ.๒๕๒๘
                    พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
               ๓                                                กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กพร.)
                    พ.ศ.๒๕๔๕
               ๔  พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๘          กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.)

               ๕  พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑          กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.)

                    พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
               ๖                                                กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.)
                    พ.ศ.๒๕๔๓
               ๗  พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.๒๕๓๓             สำนักงานประกันสังคม (สปส.)

               ๘  พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.๒๕๓๗               สำนักงานประกันสังคม(สปส.)

              และยังมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง แต่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงอื่น เช่น
                    ๑) พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒
                    ๒) พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒
                         ๒.๑ พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๒๑
                         เป็นกฎหมายเฉพาะที่ใช้ในการตรวจสอบ ควบคุมการทำงานของคนต่างด้าว โดยทั่วไป
              แล้วคนต่างด้าวที่ทำงานในประเทศไทย ต้องเป็นผู้ที่เดินทางผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง และมีหนังสือ
              เดินทางตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.๒๕๒๒ โดยกฎหมายฉบับนี้ ไม่ใช้บังคับแก่คนต่างด้าว
              ที่เข้ามาทำงานในราชอาณาจักร (มาตรา ๔) ดังต่อไปนี้

              	     (๑) บุคคลในคณะผู้แทนทางทูต
                    (๒) บุคคลในคณะผู้แทนทางกงสุล
                    (๓) ผู้แทนของประเทศสมาชิก และพนักงานขององค์การสหประชาชาติ และทบวงการชำนัญพิเศษ
                    (๔)  คนรับใช้ส่วนตัวซึ่งเดินทางจากต่างประเทศเพื่อมาทำงานประจำอยู่กับบุคคลในข้อ  ๑
              ข้อ ๒ และข้อ ๓
                    (๕) บุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจตามความตกลงที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ
              หรือองค์การระหว่างประเทศ

                    (๖) บุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจเพื่อประโยชน์ในทางการศึกษา วัฒนธรรม ศิลปะการกีฬา
              หรือกิจการอื่น ทั้งนี้ตามที่จะได้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
                    (๗) บุคคลซึ่งรัฐบาลอนุญาตให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจอย่างหนึ่งอย่างใด


        ๔๔    สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   44                                                                      7/28/08   8:46:42 PM
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49